งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ (รอบ 2) ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 6 มิถุนายน 2560 ณ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา

2 ทิศทางการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในจังหวัดกาญจนบุรี
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) ปี 2560 จังหวัดกาญจนบุรี ทิศทางการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในจังหวัดกาญจนบุรี พญ.ฤทัย วรรธนวินิจ ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) จังหวัดกาญจนบุรี

3 เป้าหมาย......ของการที่เรารวมกันเป็นจังหวัดกาญจนบุรี
Accessibility to care และ Prevention & Promotion ได้อย่าง ครอบคลุมทุกจุดของจังหวัด เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการได้ไม่ว่าจะอยู่ ที่ไหน เข้าถึงบริการได้ง่ายไม่ต่างกัน Quality of Care ที่ให้ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน มีมาตรฐานไม่ต่างกัน คุณภาพบริการไม่แตกต่างจนเกิดผลเสียต่อสุขภาพ ระบบการส่งต่อในจังหวัดที่ไร้รอยต่อ ของการเป็น อำเภอ หรือ จังหวัด แม้แต่ข้ามจังหวัด เขตก็ตาม เมื่อไรที่จำเป็นต้องไป ก็ต้องให้ไป เพื่อให้ ทันเวลา และไม่เกิดผลเสีย

4 CSO แนวทางทั่วไปด้านการจัดระบบบริการ ปีงบประมาณ 2560
ไม่มีการปฏิเสธ Refer * Unlimited Refer In มีระบบการส่งต่อเข้า รพท. แบบไม่จำกัดและไม่มีเงื่อนไขใดๆ * Auto Refer Back มีระบบส่งกลับไปที่ รพช.ได้ทันทีเมื่อผู้ป่วยพร้อม ตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันแล้วในจังหวัด * ทบทวน Refer In เพื่อเพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลลูกข่าย * ทบทวน Refer Out ในสาขาความเชี่ยวชาญ โรคที่สำคัญและค่าใช้จ่ายสูง 2) รพท. จับคู่กับ รพช.ที่มีสถานะทางการเงินไม่ดี “แบบพี่ช่วยน้อง” ช่วยเพิ่ม Productivity ให้ รพช. และช่วยแก้ปัญหาความแออัดของ รพท.

5 CSO แนวทางทั่วไปด้านการจัดระบบบริการ ปีงบประมาณ 2560
3) เปิด/พัฒนา PCC ปี 2560 * อำเภอเมือง (รพ.สต.ลาดหญ้า,รพ.สต.หนองบัว และ รพ.สต.วังด้ง) * อำเภอมะการักษ์ (ศพ.ทม.ท่าเรือ-พระแท่น,รพ.สต.สำนักคร้อ และ รพ.สต.แสนตอ) * อำเภอท่าม่วง (รพ.สต.ศาลเจ้าโพรงไม้ ) 4) โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา เป็น Training Center เพื่อพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลลูกข่าย ควบคู่กับการพัฒนางานวิจัย 5) พัฒนาโรงพยาบาล M2 ให้มีศักยภาพในการตรวจผู้ป่วยและผ่าตัด 6) ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม เรื่อง Food safety

6 แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดกาญจนบุรี
อ.เมือง อ.สังขละบุรี อ.ศรีสวัสดิ์ อ.ทองผาภูมิ อ.ไทรโยค อ.หนองปรือ อ.บ่อพลอย อ.ด่านมะขามเตี้ย อ. ท่าม่วง ท่ามะกา อ.พนมทวน อ.ห้วยกระเจา เลาขวัญ F1 รพ.บ่อพลอย(60) F1 เป็น M2 ขนาด 90 เตียง ปี 63 M2 รพ.ทองผาภูมิ (90 เตียง) F2 M2 F3 F2 F2 F2 F1 F2 F2 รพ.พหลพลพยุหเสนา 485 เตียง และ จะเป็น 700 เตียง ปี 61 ขอปรับ S เป็น A ขนาด 700 เตียง ปี 63 รพ.พหลพลพยุเป็นแม่ข่ายของจังหวัดกาญจนบุรี รับส่งต่อ 9 รพ. รพ.มะการักษ์ รับส่งต่อ 2 รพ. (การปฏิเสธส่งต่อ ภายในจังหวัด ต.ค 54 – มี.ค 55 เท่ากับ 1.75) S F2 F2 M1 F2 M2 รพ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 19 (120) M2 เป็น M1 ขนาด 264 เตียง ปี 63 ศูนย์ผ่าตัดไส้ติ่ง (เมษายน 2560) รพ.มะการักษ์ (252) M1 เป็น S ขนาด 320 เตียง ปี 63

7 สถานะสุขภาพประชาชน ชาวกาญจนบุรี ปี 2559
ประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 798,350 คน ประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป 14.26% ประชากร อายุต่ำกว่า 15 ปี 18.67% อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ปี 2559 (Life Expectancy at Birth) ชาย ปี หญิง ปี อัตราการเกิดมีชีพ 9.15 ต่อ พัน ปชก. อัตราการเพิ่มตามธรรมชาติ 2.26 ต่อพัน ปชก.

8 กลุ่มที่ไม่มีหลักประกัน ปี 2555 - 2560
จำนวนประชากรต่างด้าวที่มีหลักประกันสุขภาพ/กลุ่มที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ์/ กลุ่มที่ไม่มีหลักประกัน ปี จำนวนประชากรต่างด้าวทุกประเภท ปี มีประมาณ 100,000 คน (ปัญหาสถานะและสิทธิ 66,975 คน)(ซื้อบัตรประกัน 20,092 คน)(ไม่มีสิทธิ์ใดๆ 14,972) กลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ อำเภอ ทองผาภูมิ(21,012 คน) สังขละบุรี(19,723 คน) ไทรโยค(17,778 คน) กลุ่มที่มีประกันสุขภาพ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ อำเภอท่ามะกา(4,748 คน) เมืองฯ (4,179 คน) ทองผาภูมิ(2,953 คน) กลุ่มไม่มีหลักประกันสุขภาพ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ อำเภอไทรโยค (3,968 คน) เมืองฯ (3,506 คน) ทองผาภูมิ(3,059 คน) ทั้งนี้ยังมีแรงงานต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมายที่ยังไม่เข้าระบบฐานข้อมูล กระจายอยู่ทั่วไปทั้งจังหวัดอีกจำนวนหนึ่ง ข้อมูลการประกันสุขภาพของแรงงานต่างด้าว/คนต่างด้าว ปี 2560 1.1 FWF กลุ่มแรงงานต่างด้าวและผู้ติดตาม ,092 คน 1.2 STP กลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ,975 คน 1.3 NRD กลุ่มคนต่างด้าว ไม่มีหลักประกันสุขภาพ ,972 คน

9 สถานะสุขภาพประชาชน ชาวกาญจนบุรี ปี 2559
กลุ่มโรคผู้ป่วยนอก 10 อันดับแรก กลุ่มโรคผู้ป่วยใน 10 อันดับแรก กลุ่มโรค 1 ความดันโลหิตสูง 2 การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน 3 เบาหวาน 4 เนื้อเยื่ออ่อนผิดปกติ 5 คออักเสบเฉียบพลัน 6 ฟันผุ 7 ไตวาย 8 การอักเสบติดเชื้อของผิวหนัง 9 แผลของกระเพาะอาหาร 10 กระเพาะอาหารอักเสบ กลุ่มโรค 1 อาการท้องร่วงและลำไส้อักเสบ 2 ปอดบวม 3 ต้อกระจกและความผิดปกติของเลนส์อื่นๆ 4 หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน 5 ปอดอุดกั้นเรื้อรัง 6 โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ 7 โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 8 หัวใจล้มเหลว 9 อาหารไม่ย่อย 10 ไข้เด็งกี่ ที่มา : HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี ที่มา : 12 แฟ้ม ผู้ป่วยใน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี

10 สถานะสุขภาพประชาชน ชาวกาญจนบุรี ปี 2559
สาเหตุการตาย 10 อันดับแรก 1.ปอดอักเสบ 2.ติดเชื้อในกระแสเลือด 3.โรคหลอดเลือดสมอง 4.โรคหลอดเลือดหัวใจ 5.โรคไต 6.อุบัติเหตุจราจร 7.มะเร็งตับ 8. มะเร็งปอด 9.โรคทางเดินอาหาร 10.โรคตับแข็ง ที่มา สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

11 เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยส่งต่อทุกโรค ปี 2559 – 2560
(ช่วงเวลาเดียวกัน ตค.59 – เมย.60) ปี 2560 ลดลง 6.53% ปี 2559 เพิ่มขึ้น % ปี 2560 ลดลง % ปี 2559 เพิ่มขึ้น % ปี 2560 เพิ่มขึ้น 0.24 % ปี 2559 เพิ่มขึ้น 17.39% ยกเลิก One CUP 1 ตุลาคม 2558 ที่มา ข้อมูล refer ของโรงพยาบาลแม่ข่าย

12 เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วย Refer Out นอกเขต ปี 2559 – 2560
(ช่วงเวลาเดียวกัน ตค.59 – เมย.60) ปี 2560 เพิ่มขึ้น 69.75% ปี 2559 เพิ่มขึ้น 4.34 % ปี 2560 เพิ่มขึ้น % ปี 2559 เพิ่มขึ้น 4.31 % ปี 2560 เพิ่มขึ้น 24 % ปี 2559 เพิ่มขึ้น % ปี 2560 เพิ่มขึ้น 83.33% ปี 2559 เพิ่มขึ้น 14.29% ที่มา ข้อมูล refer ของโรงพยาบาลแม่ข่าย

13 5 อันดับโรค refer out ในเขต 5 อันดับโรค refer out นอกเขต
ปี (ตค.59 – เมย.60) 5 อันดับโรค refer out นอกเขต ปี (ตค.59 – เมย.60) โรค จำนวน ราย CA Breast 215 Epilepsy 153 Retinal Detachment and Break 117 Retinal Disorder 109 Retinal Disorder in Disease 92 โรค จำนวน ราย 1. CA breast 404 2. IHD 233 3. Ac.MI 182 4. CA Cervix 137 5. CKD 199 โรงพยาบาล จำนวน ราย 1. รพศ.ราชบุรี 2005 2. รพ.เมตตาประชารักษ์ 866 3. รพศ.นครปฐม 353 4. รพ.มหาชัย 75 5. รพ.บ้านแพ้ว 32 โรงพยาบาล จำนวน ราย 1. รพ.ศิริราช 1515 2. รพ.ราชวิถี 1238 3. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 568 4. รพ.วิชัยเวช 412 5. สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ 326 ที่มา ข้อมูล refer in ของโรงพยาบาลแม่ข่าย

14 สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย Service plan จังหวัดกาญจนบุรี เปรียบเทียบ ประเทศ
สถานการณ์ ปีงบประมาณ 58 สถานการณ์ ปีงบประมาณ 59 ผลการดำเนินงานปี60 (เมษายน 2560) ลดป่วย ร้อยละของผู้ป่วย CKD มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/ ปี ( > 65 ) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี ลดตาย ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่เสียชีวิตภายใน 30 วัน อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ ที่มี PS score > 0.75 อัตราการเสียชีวิตของทารกน้ำหนักมากกว่า500 กรัมอายุ ต่ำกว่า 28 วันต่อทารกเกิดมีชีพ 1,000 คน ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสียชีวิต ลดระยะเวลารอคอย ร้อยละของโรคมะเร็งที่มีข้อบ่งชี้ต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีภายใน 6 สัปดาห์ ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจก ภายใน 30 วัน

15 กลุ่ม Excellent Service plan
สภาพปัญหา ยังต้องส่งต่อนอกจังหวัดและนอกเขต อยู่มาก และอัตราตายสูง จำนวนเตียงรับผู้ป่วย ยังไม่เพียงพอ ยังขาดแพทย์อนุสาขา และพยาบาล เฉพาะทางอีกมาก หัวใจและหลอดเลือด อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด มะเร็ง การรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ มาตรการ พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลแม่ข่ายตาม ระดับ Excellent center แผนกำลังคน ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ประสานงานการส่งต่อ (เพื่อลดอัตราตาย และระยะเวลารอคอย )

16 กลุ่ม Excellent Service plan
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 1. ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ 100 ยาละลายลิ่มเลือดได้ (ร้อยละ 100 ) (14/14)  (14/14) 2. ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI) ได้รับยา 85.64 80.51 ละลายลิ่มเลือด และ/หรือ การขยายหลอดเลือด ( ≥ 80%) (173/202)  (95/118)  3. อัตราการตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน 17.82 16.95 (STEMI) (≤ 10%) (20/118) 4. ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพ ในโรงพยาบาลระดับ F2 78.57 ขึ้นไป 60%  (11/14)

17 กลุ่ม Excellent Service plan
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 6. ร้อยละของ ER คุณภาพ ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป - ROSC รพ F2 ขึ้นไป 26.61 - ROSC รพ S ,M1 ถึง Admit 19.05 - ROSC รพ.M2-F3 จนถึง refer 20.9 7. อัตราจากการบาดเจ็บ(Trauma)PS Score >= 0.75 < 1% 0.31 0.93 8. เพิ่มเตียง NICU ให้ได้ตามเกณฑ์ (เกณฑ์ 1 : 500 LB) 1 : 739 9. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการคัดกรองโรคหัวใจพิการ 100 แต่กำเนิดชนิดเขียว > 60%  (5/5) 10.อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 154/19.35แสนประชากร 66/8.27 แสนประชากร

18 กลุ่ม Excellent Service plan
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 11. จำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ≥ 1 ราย ต่อ 3 ราย 100 hospital death (เจรจา 44 จาก 67)

19 กลุ่ม Service plan บริการหลัก
อายุรกรรม ศัลยกรรม สภาพปัญหา โรงพยาบาลขนาดใหญ่ ยังมีผู้ป่วยแออัด โรงพยาบาลขนาดเล็ก ยังขาดบุคลากรที่มีศักยภาพ ส่งต่อผู้ป่วย RW ต่ำ โรงพยาบาลมีหลายแห่ง และกระจายห่างไกล เนื่องจากจังหวัดมีพื้นที่กว้าง บริการ 3 สาขาหลัก สูติ กุมารฯ ออร์โธปิดิกส์ ตา ไต สุขภาพช่องปาก สุขภาพจิตและจิตเวช มาตรการ Unlimited Refer In – Auto Refer back ร่วมบริการเป็นเครือข่าย ทีม รพท. ไปผ่าตัด /ออกตรวจ ใน รพช. พัฒนาศักยภาพบุคลากรใน รพช. สนับสนุนระบบเวชภัณฑ์ / Lab

20 กลุ่ม Service plan บริการหลัก
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 1. อัตราตายผู้ป่วย Sepsis/septic shock 29.27 16.58 (ไม่เกินร้อยละ 30 ) 2. ร้อยละการแตกของภาวะไส้ติ่งอักเสบ 6.84 49.68 (ไม่เกินร้อยละ 20 ) 3. ร้อยละการเสียชีวิตของผู้ป่วยปวดท้องเฉียบพลัน 5 ภาวะ 3.14 2.53 (ไม่เกินร้อยละ 4) 4. ร้อยละของผู้ป่วยที่เสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผู้ป่วย 2.63 6.45 ภาวะขาดเลือดที่ขาหรือแขน (น้อยกว่าร้อยละ 20) 5. ร้อยละของการถูกตัดขาตั้งแต่ระดับข้อเท้าขึ้นมาของผู้ป่วย 18.51 28.57 ภาวะขาดเลือดที่ขา (น้อยกว่าร้อยละ 20)

21 กลุ่ม Service plan บริการหลัก
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 6. ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดใน รพ.M2 69.54 91.97 ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 25  (694/998) (367/399) 7. อัตรามารดาตกเลือดเสียชีวิต เท่ากับ 0  (0/104)  (0/20) 8. อัตราป่วยตายโรคปอดบวมในเด็ก อายุ 1 เดือนถึง 0.33 5 ปีบริบูรณ์ ลดลงร้อยละ 10 (7/2,105)   (4/1,206) 9. ร้อยละการรักษาผู้ป่วยกระดูกหักแบบปิดและไม่เคลื่อนที่ใน 98.78 97.09 รพช. M2 ลงไป (ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70)  (971/983)  (668/688) 10. ร้อยละผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสายตา 72.62 71.81 (ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 75) (74,354/103,543)

22 กลุ่ม Service plan บริการหลัก
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 11. การชะลอความเสื่อมของไต ผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ 66.98 67.33 eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr (มากกว่าร้อยละ 65)  (310/387) (5,142/7,637) 12. ร้อยละของ รพ.สต./ศสม.จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มี 66.7 47.6 คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) 13. อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชนในพื้นที่ 33.6 24.8 รวมทุกสิทธิ์ (ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 35) 14.ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำร้ายตัวเอง 80.10 98.29 ซ้ำภายใน 1 ปี (ร้อยละ 80 ) (289/294) 15. ร้อยละของหน่วยบริการที่มีการคัดกรองและเฝ้าระวัง 100 ความสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายใน 3 กลุ่มโรค (ร้อยละ 50)

23 กลุ่ม Service plan บริการหลัก
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 16. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต 50.14 53.48 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 17. ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต 58.26 63.85 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65) 18. ร้อยละผู้ที่มีปัญหาโรคสมาธิสั้นเข้าถึงบริการ (ร้อยละ 8) 5.54 12.47

24 Service Plan ที่เชื่อมโยงกับ Primary Care
สภาพปัญหา จังหวัดมีพื้นที่กว้าง ต้องมีหน่วยบริการปฐมภูมิมาก การจัดสรรทรัพยากรไม่พอ ระบบปฐมภูมิ ต้องรับงานบริการหลายด้าน รวมถึงการส่งเสริมสุขภาพ บริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ แพทย์แผนไทย โรคไม่ติดต่อ DM/HT Stroke COPD มาตรการ รพ.สต.ติดดาว 50%ของอ.เมืองฯ โดยทีมพี่เลี้ยงจากหนองบัวลำภู ดำเนินการผ่าน DHS พัฒนา Primary Care Cluster แผนจัดสรรทรัพยากร กำหนดประเด็นสำคัญ ของ แต่ละ Service plan ที่ต้องเน้นในระดับปฐมภูมิ จากระดับจังหวัด RDU Palliative Care ยาเสพติด แผนการเปิด PCC ปี 2560 อำเภอเมือง (รพ.สต.ลาดหญ้า,รพ.สต. หนองบัว และ รพ.สต.วังด้ง) อำเภอมะการักษ์ (ศพ.ทม.ท่าเรือ-พระแท่น, รพ.สต.สำนักคร้อ และรพ.สต.แสนตอ) อำเภอท่าม่วง(รพ.สต.ศาลเจ้าโพรงไม้ )

25 Service plan ที่เชื่อมโยงกับ Primary Care
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 1. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ ( > 40% ) 21.37 25.80 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมได้ ( > 50%)  30.52 29.30 2. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันที่ขึ้นทะเบียนได้รับการ 75.88 ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (ร้อยละ 90) 3. ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรอง เบาหวาน (ร้อยละ 90) 90.09  ความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 90) 91.56 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ทางตา (ร้อยละ 60) 52.44  ทางเท้า (ร้อยละ 60) 53.75

26 Service plan ที่เชื่อมโยงกับ Primary Care
ผลการดำเนินงานปี 2560 ข้อมูลเชิงปริมาณตัวชี้วัดปี 2560 ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 2560 (ต.ค.59-เมย.60 5. ผู้ป่วย Stroke เข้าถึงยา rt-PA มากขึ้น ( > 4% )  3.59 5.04 6. อัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง (< 7 %) 12.95 13.20  (231/1783 ราย) (150/1136 ราย)  7. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลัง 82.53 100 จำหน่ายจากการบำบัดรักษา (> 92 %) (106 ราย) 

27 โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
Training Center โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา

28 ออกตรวจและสอนแพทย์ และผ่าตัด ใน รพช.
สาขา โรงพยาบาล กิจกรรม ความถี่ ศัลยกกรม รพ.ทองผาภูมิ * ออกตรวจ (เช้า) เดือนละ 1 ครั้ง รพ.บ่อพลอย * ผ่าตัด (บ่าย) รพ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 19 ทุกวันพฤหัสบดี (เดือนละ 4 ครั้ง) ศัลยกรรมตกแต่ง ทุกวันจันทร์ ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ รพ. บ่อพลอย ทุกวันพุธ

29 ออกตรวจและสอนแพทย์ และผ่าตัด ใน รพช.
สาขา โรงพยาบาล กิจกรรม ความถี่ จักษุ รพ.ทองผาภูมิ * ออกตรวจ (เช้า) 1 ครั้ง (19 ตา) รพ.บ่อพลอย * ผ่าตัดต้อกระจก (บ่าย) 1 ครั้ง (24 ตา) รพ.เลาขวัญ 2 ครั้ง (42 ตา) จิตเวช รพ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 19 ออกตรวจคลินิก ทุกเดือน

30 กิจกรรมการผ่าตัด ที่ รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19
ธ.ค.59 ม.ค.60 ก.พ.60 มี.ค.60 เม.ย.60 พ.ค.60 MRM : Modified Radical Mastectomy 1 4 Hemorrhoids Mastectomy with sentinel lymph node biopsy 2 Mastectomy Peritoneal Dialysis Catheter Hernioplasty Lobectomy BKA. Wide excision. 3 Fistulotomy LC : Laparoscopic cholecystectomy

31 การคัดกรองต้อกระจกและเบาหวานจอประสาทตาและผ่าตัด รพช.
รพ.ทองผาภูมิ,รพ.บ่อพลอย และ รพ.เลาขวัญ ที่ รพ.สต.ใน อ.ทองผาภูมิ ที่ รพ.ทองผาภูมิ

32 รพ.เลาขวัญ 2 ครั้ง วันที่ 27-28 เมษายน 2560

33 อบรมครู/พยาบาล เรื่องการวัดสายตา เด็ก ป.1
ที่ สสจ.กาญจนบุรี ที่ รพ.สต.ใน อ.เมือง

34 ออกตรวจและสอนแพทย์ รพช. ปีละ 3 ครั้ง
ที่ รพ.เลาขวัญ วันที่ 25 พฤษภาคม 2560

35 รพ.ทองผาภูมิ จำนวน 2 รุ่นๆละ 5 คน รวม 10 คน ในวันที่ 6,12 ตุลาคม 2559
ฝึกทักษะการใช้และการตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจ รพ.ทองผาภูมิ จำนวน 2 รุ่นๆละ 5 คน รวม 10 คน ในวันที่ 6,12 ตุลาคม 2559

36 ฝึกทักษะการใช้และการตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจ
รพช.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 19 จำนวน 7 รุ่นๆละ 4 คน รวม 28 คนในวันที่ 10,14,20,27 ก.พ.และวันที่ 6,13,21 มี.ค.60

37 Trauma and Emergency การเขียนแผนภัยพิบัติ รพ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 19 การการคัดแยกผู้ป่วย ในห้องฉุกเฉินรพ.มะการักษ์

38 การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินเบื้องต้น รพ.ท่ากระดาน

39 การอบรม FR

40 การคัดกรองผู้ป่วยอุบัติเหตุ และการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน รพ
การคัดกรองผู้ป่วยอุบัติเหตุ และการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน รพ.ทวาย(เมียนมาร์)

41 ประชุมเชิงปฏิบัติการ การคัดกรองความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์และภาวะวิกฤตทางสูติศาสตร์ แพทย์และพยาบาลจาก รพ.ค่ายฯ และ รพช.จังหวัดกาญจนบุรี ในวันที่ 19 และ 26 เมษายน 2560

42 การช่วยฟื้นคืนชีพในหญิงตั้งครรภ์
การทำคลอดติดไหล่

43 การช่วยเหลือเมื่อมีสายสะดือพลัดต่ำ
การทำคลอดท่าก้น การช่วยเหลือเมื่อมีสายสะดือพลัดต่ำ

44 การใช้นวัตกรรมในการช่วยหยุดภาวะตกเลือดหลังคลอดโดยการใช้ Double balloon

45 อบรมการบำบัดฉุกเฉินทางเอ็นโดดอนต์แก่ทันตแพทย์ รพท. และ รพช
อบรมการบำบัดฉุกเฉินทางเอ็นโดดอนต์แก่ทันตแพทย์ รพท. และ รพช. จังหวัดกาญจนบุรี 39 คน

46 เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วย refer back รพช. ในจังหวัดกาญจนบุรี
ปี (ช่วงเวลา ตค. – เมย.60) ปี ราย ปี ราย ปี ราย ปี อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 4 อันดับ 5 2559 Pneumonia (40) HI (27) COPD (16) DM Foot (8) Septicemia 2560 HT (52) (47) Intracranial injury (36) DM Stroke (13) Refer backปี 2559 เพิ่มขึ้น51.96 ปี2560 เพิ่มขึ้น % (เป้าหมาย80%) ที่มา ข้อมูล refer in ของโรงพยาบาลแม่ข่าย

47 เปรียบเทียบ จำนวนผู้ป่วย refer ภายในจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2559 - 2560
(ตค.59-เมย.60) ปี ,819 ราย ปี ,996 ราย รายการ อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 4 อันดับ 5 IPD Stroke 320 Pneumonia 225 Ac. Appendicitis 208 Senile cataract 150 UGIH 148 OPD CKD 799 HT 431 BPH 327 345 Kidney stone 299 ยกเลิก One CUP 1 ตุลาคม 2558 ที่มา ข้อมูล refer in ของโรงพยาบาลแม่ข่าย

48 อัตราครองเตียง รายโรงพยาบาลในจังหวัดกาญจนบุรี ปีงบประมาณ 2559-2560
อัตราครองเตียง รายโรงพยาบาลในจังหวัดกาญจนบุรี ปีงบประมาณ CMI รายโรงพยาบาลในจังหวัดกาญจนบุรี เปรียบเทียบเกณฑ์ ปีงบประมาณ ที่มา : CMI เขตสุขภาพที่ 5

49 ระดับวิกฤติทางการเงินการคลังของโรงพยาบาลในจังหวัดกาญจนบุรี
ปีงบประมาณ (ไตรมาสที่ 2) ลำดับ โรงพยาบาล ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 Q1 Q2 1 โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา 2 โรงพยาบาลมะการักษ์ 3 โรงพยาบาลไทรโยค 4 โรงพยาบาลสมเด็จพระปิยมหาราชรมณียเขต 5 โรงพยาบาลบ่อพลอย 7 6 โรงพยาบาลท่ากระดาน โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 8 โรงพยาบาลทองผาภูมิ 9 โรงพยาบาลสังขละบุรี 10 โรงพยาบาลเจ้าคุณไพบูลย์พนมทวน 11 โรงพยาบาลเลาขวัญ 12 โรงพยาบาลด่านมะขามเตี้ย 13 โรงพยาบาลพยาบาลสถานพระบารมี 14 โรงพยาบาลศุกร์ศิริศรีสวัสดิ์ 15 โรงพยาบาลห้วยกระเจาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google