งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน ดร.เสนอ ภิรมจิตรผ่อง สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

2 “วิจัย” ใน พ.ร.บ.การศึกษา ๒๕๔๒
ม.๒๔ (๕) ให้สถานศึกษาส่งเสริมผู้สอน….รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้… “วิจัย” ใน พ.ร.บ.การศึกษา ๒๕๔๒ ม.๓๐ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน...

3 วิจัย คือ? Re-search จุดมุ่งหมายแน่นอนและตรวจสอบได้
กระบวนการอย่างมีระบบระเบียบ วิจัย คือ? หาความรู้ ความจริงจากปัญหาที่ชัดเจน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ตีความหมาย

4 ประเภทของการวิจัย การใช้ประโยชน์ จุดมุ่งหมายการวิจัย ลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงบรรยาย การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยบริสุทธิ์ การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย การวิจัยประยุกต์ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ การวิจัยขั้นสำรวจ

5 การวิจัยปฏิบัติการ CRASP นำผลไปใช้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติทันที่
พัฒนาวิธีการ/ทักษะเพื่อแก้ปัญหา CRASP การค้นคว้าที่ส่องสะท้อนตนเองเป็นกลุ่มที่ปฏิบัติงานตามปกติ แสวงหาวิธีแก้ปัญหาทางการศึกษาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติจริงแบบบันไดเวียน การวิจัยปฏิบัติการ พัฒนาความรู้/ความเข้าใจในส่วนของการปฏิบัติงานของตน ปรับปรุงงานของตนให้ดีขึ้น

6 CRASP C:Critical collaboration enquiry :ร่วมมือในการสืบสวนสอบสวนปัญหาอย่างวิเคราะห์วิจารณ์ R: Reflective practioners : สะท้อนผลการปฏิบัติการโดยผู้ปฏิบัติ A: Accountable to public : อธิบายข้อค้นพบและเผยแพร่ S: Self evaluation :ประเมินผลการปฏิบัติงานของตน P: Participative problem solving : มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและดำเนินการพัฒนากิจกรรมต่อไป

7 การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือการวิจัยที่
ครูผู้สอนในห้องเรียน ทำการแสวงหาวิธีการแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ในขณะที่การเรียนการสอนกำลังเกิดขึ้น การทำงานตามวงจร PAOR มีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นกระบวนการวิจัยที่ทำอย่างรวดเร็วโดยครู มีลักษณะแบบร่วมมือเป็นทีม ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร เพื่อจุดมุ่งหมายใด ลักษณะเด่นการวิจัย

8 VARIABLES คุณลักษณะที่ผู้วิจัยสนใจศึกษาที่สามารถแปลเปลี่ยนค่าได้
มองเห็นได้/นามธรรม

9 ประเภทของตัวแปร ความเป็นเหตุผล การออกแบบศึกษา หน่วยของการวัด ตัวแปรต้น
ตัวแปรกำหนด ตัวแปรเชิงปริมาณ ตัวแปรสอดแทรก ตัวแปรเชิงคุณสมบัติ ตัวแปรเชิงคุณภาพ ตัวแปรแทรกซ้อน ตัวแปรต่อเนื่อง ตัวแปรแบ่งช่วง ตัวแปรตาม

10 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
INDEPENDENT VARIABLES DEPENDENT VARIABLE เป็นต้นเหตุหรือตัวกำหนดที่มีอิทธิพล ตัวแปรเกิน EXTRANEOUS V. INTERVENING V. ตัวแปรลักษณะทางกาย ตัวแปรลักษณะแวดล้อม

11 ประโยชน์ของการวิจัยในชั้นเรียน
- วงวิชาการมี ข้อความรู้ / หรือนวัตกรรมมากขึ้น - ช่วยปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ - การบริหารมีประสิทธิภาพสูงสุด - ครูมืออาชีพ / ครูผู้รอบรู้ - ปรับปรุงหลักสูตร - ขอเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น

12 Action Research ต้องการปรับปรุงงาน นวัตกรรม ประเมินความก้าวหน้า
เริ่มจากปัญหาการปฏิบัติงาน ไม่ควบคุมโดยเคร่งครัด ลักษณะ Action Research มุ่งศึกษาจากประชากร บันทึกข้อมูลต่อเนื่อง ความร่วมมือระหว่างทีม พัฒนาเครื่องมือตามสภาพ R & D การนำผลการวิจัยไปใช้ ประเมินตนเอง ไม่ยึดมั่นมาตรฐานของแบบการวิจัย ผู้วิจัยคือผู้ประสบปัญหา ทดสอบสมมุติฐานโดยการปฏิบัติจริง

13 รูปแบบ Research and Development
ระยะแรก : วิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาของการ เรียนการสอน ระยะสอง: ทดลองวิธีการพัฒนาหรือนวัตกรรม ระยะสาม: พิสูจน์ความจริงที่ถูกต้อง

14 Kemmis and Taggart(1983)

15 รูปแบบและลักษณะการวิจัยในชั้นเรียน
การประเมิน/ติดตาม/ทดลองหลักสูตร การสร้าง ผลิตและการทดลองใช้นวัตกรรมและผลผลิตภัณฑ์ การสร้างและพัฒนาเครื่องมือฯ การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงทดลอง การศึกษาเฉพาะกรณี

16 รูปแบบและลักษณะการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยหาความสัมพันธ์ การวิจัยเปรียบเทียบ การวิจัยแบบทดสอบ การวิจัยเชิงทดลองและพัฒนา

17 กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
- การเลือกและกำหนดปัญหา - การตั้งสมมติฐานและกำหนดตัวแปร - การเลือกแหล่งข้อมูล - เครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย - การเขียนรายงานการวิจัย (กรมวิชาการ.๒๕๓๑)

18 กระบวนการวิจัยของครูในชั้นเรียน
1. ศึกษาสภาพปัญหาการปฏิบัติงานในชั้น 2. คิดอย่างมีเหตุผล หาสาเหตุ และวิธีแก้ 3. นำสื่อ/ วิธีการไปทดลองแก้ปัญหา 4. นำผลจากการทดลองมาพิสูจน์ 5. สรุปผลการทดลอง (ช.ชนบท.๒๕๓๑)

19 กระบวนการวิจัยที่สำคัญ
๑.ศึกษาสภาพปัญหาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ๒.การออกแบบนวัตกรรม ๓.การสร้างหรือพัฒนานวัตกรรม ๔.การทดลองนวัตกรรม ๕.การประเมินผล/สรุปยืนยันประสิทธิภาพนวัตกรรม กองวิจัยทางการศึกษา.๒๕๓๕

20 ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน
๑. กำหนดปัญหา ๒.นิยามปัญหา ๓.การรวบรวมข้อมูล ๔.การวิเคราะห์ข้อมูล ๕.สรุปและรายงาน วิรัช วรรณรัตน์(.๒๕๓๗)

21 แนวดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน
๑.สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน ๒.วิเคราะห์หาแนวทางแก้ไขและปรับปรุง ๓.ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับแนวทาง/วิธีแก้ไข ๔.กำหนดรูปแบบวิธีการ ๕.สร้างสื่อ/เทคนิค วิธีการใหม่ๆ ๖.ทดลองใช้สื่อ/วิธีการ ๗.สรุปผลการใช้สื่อ ๘.จัดทำรายงานผลการนำเทคนิคมาใช้ ๙.เผยแพร่ผลงาน สำนักงานทดสอบทางการศึกษา.๒๕๓๕

22 ลำดับขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียน
ขั้นที่ ๑ กำหนดปัญหา ขั้นที่ ๒ เตรียมการและวางแผน ขั้นที่ ๓ ปฏิบัติตามแผน ขั้นที่ ๔ ติดตาม ปรับปรุง ทดลอง ขั้นที่ ๕สรุป เขียนรายงาน System Approach ชัยพจน์ รักงาม.๒๕๓๙

23 สรุปขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียน
ขั้นที่ ๑ การและวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน ขั้นที่ ๒ สร้างและพัฒนานวัตกรรม ขั้นที่ ๓ สร้างและพัฒนาเครื่องมือเพื่อสังเกต ขั้นที่ ๔ ใช้นวัตกรรมที่เชื่อถือได้พัฒนาการเรียนการสอน ขั้นที่ ๕ การสังเกตและสะท้อนผลการใช้นวัตกรรม ขั้นที่ ๖ สรุปและรายงานผลการพัฒนา

24 สำรวจและวิเคราะห์ ปัญหาการเรียนการสอน
ใคร ? เป็นอะไร? อย่างไร ? สำรวจปัญหาการเรียนการสอน คัดเลือกปัญหาและ บรรยายลักษณะปัญหา วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา 9/16/2018

25 ปัญหาการเรียนการสอน ปัญหา คือ สภาพความแตกต่างระหว่างจุดมุ่งหมายหรือสภาพที่ต้องการกับสภาพที่เป็นจริงในเวลาหนึ่งๆ การตีความ สกัดประเด็นปัญหา ชี้สถานะของปัญหาให้กระจ่าง แยกแยะปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหา การเลือกประเด็นปัญหา

26 Defining the Problem:การนิยามปัญหา
เกี่ยวข้องกับเรื่องใดบ้าง ปัญหา การวิจัย ปัญหา คืออะไร จะศึกษาประเด็นใด

27 กระบวนการแก้ปัญหาของมนุษย์
ความต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ระบุปัญหาให้ชัดเจน วิเคราะห์ปัญหา กำหนดจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหา กำหนดมาตรการหรือโครงการ

28 กระบวนการแก้ปัญหาของมนุษย์
กำหนดวิธีดำเนินโครงการ กำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ดำเนินการตามโครงการและวิธีดำเนินโครงการ ประเมินผลการดำเนินงาน

29 หลักเกณฑ์การจัดลำดับ ความสำคัญของปัญหา
ความร้ายแรง ความรีบด่วน ผลกระทบต่อเนื่อง เกิดกับคนจำนวนมากน้อย

30 ลำดับขั้นการคิดหาวิธีแก้ปัญหา
การวิเคราะห์หาต้นเหตุของปัญหา การกำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา การตัดสินใจเลือกทางเลือก

31 การวิเคราะห์ปัญหา ปัญหาที่มีเหตุปัจจัยจากตัวผู้เรียน
ปัญหาที่มีเหตุปัจจัยจากตัวครู ปัญหาที่มีเหตุปัจจัยจากแหล่งอื่น

32 การวิเคราะห์ปัญหา เป็นการศึกษาสภาพปัญหาอย่างละเอียดด้วยการ
1.สำรวจดูว่ามีข้อเท็จจริงอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง กับปัญหา 2.ใช้ความคิดพินิจพิเคราะห์ดูว่าข้อเท็จจริงเหล่านั้น มีความสัมพันธ์ระหว่างกันและกับปัญหาอย่างไร

33 การวิเคราะห์โดยใช้ เครื่องหมายลูกศร
การวิเคราะห์โดยใช้ เครื่องหมายลูกศร การใช้หลักการเรียงเหตุผลและผลของข้อเท็จจริงต่างๆที่เกี่ยวข้องกับตัวปัญหาโดยใช้ลูกศรเป็นเครื่องแสดงความสัมพันธ์เพื่อทำความเข้าใจสภาวะปัญหา

34 การวิเคราะห์โดยใช้เครื่องหมายลูกศร
วิธีการ เหตุ ผล(ปัญหา) เหตุ คน

35 การกำหนดทางเลือก ในการแก้ปัญหา
การกำหนดทางเลือก ในการแก้ปัญหา เทคนิคการสอน การพัฒนาสื่อการสอน/ใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น การพัฒนาชุดฝึกทักษะ การให้แรงเสริม การสอนเสริม

36 การตัดสินใจเลือกทางเลือก
ลักษณะผู้เรียนมีความเหมาะสมกับวิธีการแก้ปัญหาแบบใด บุคคลที่จะให้ความช่วยเหลือ มีความพร้อม ความเต็มใจและความสามารถจะช่วยเหลือได้มากน้อยเพียงใด วิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหามีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติจริงหรือไม่ เมื่อพิจารณาจากเงื่อนไขของเวลาที่มีอยู่และบริบทของโรงเรียน

37 การกำหนดจุดพัฒนาและวิธีการพัฒนา
กำหนดเป้าหมายของการพัฒนาว่าจะพัฒนาใคร จากสภาพการณ์ใดเป็นสภาพการณ์ที่พึงประสงค์ใด การพัฒนา/ปรับปรุงกลุ่มเป้าหมายจากสภาพการณ์ดังกล่าวควรใช้วิธีการ/นวัตกรรม

38 การตั้งคำถามวิจัย คำถามวิจัย เป็นการกำหนดประเด็นข้อสงสัยที่ต้องการค้นหาคำตอบโดยส่วนใหญ่จะเขียนอยู่ในรูปประโยคคำถาม ที่มีความเฉพาะเจาะจง สามารถสังเกตได้ สำรวจและศึกษาวิจัยได้ ลักษณะของคำถามวิจัยที่ดี 1)ควรใช้ประโยคคำถาม “ทำไม่ อย่างไร อะไร” 2)น่าสนใจที่จะศึกษา 3)มีความสำคัญ/เกิดประโยชน์ทั้งต่อครูและนักเรียน 4)มีความเป็นไปได้ในการทำ เหมาะกับเวลา งบประมาณ

39 การตั้งคำถามวิจัย คำถามวิจัย มี 2 ระดับ ตัวอย่างคำถามวิจัย
1)คำถาม “ ใครทำอะไร? ได้ผลอย่างไร? ” 2)คำถาม “คนรับรู้สิ่งที่ตนเองทำอย่างไร? ” ตัวอย่างคำถามวิจัย - ถ้ามีวิธีการสอน 2 วิธีควรใช้วิธีใดจึงจะได้ผล/มีประสิทธิ ภาพกว่ากัน? - ทำไมนักเรียนจึงไม่ค่อยสนใจใฝ่รู้มีวิธีสร้างนิสัยดังกล่าว ได้อย่างไร?

40 Research Problem:ปัญหาการวิจัย
คำถามหรือโจทย์ที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้น ที่ต้องการคำตอบที่เชื่อถือได้ และการได้มาซึ่งคำตอบจะต้องอาศัยกระบวนการที่มีระบบระเบียบ เป็นปัญหาที่มีความลึกซึ้ง ระดับของปัญหาการวิจัย - มุ่งทำความเข้าใจปัญหา สถานการณ์ - มุ่งการปฏิบัติเพื่อปรับเปลี่ยนหรือแก้ไข

41 ลักษณะของปัญหาวิจัยที่ดี
เป็นปัญหาที่จำเป็นต้องเร่งแก้ไข ชัดเจน (มีข้อมูลหลักฐานชี้ชัด)และมีคุณค่า(ให้คำตอบที่เกิดประโยชน์) มีความเป็นปัจจุบัน(เกิดในช่วงเวลานั้น) อยู่ในวิสัยที่จะกระทำได้สำเร็จภายใต้เงื่อนไข(ความรู้ เวลาและทรัพยากร)

42 หลักการตั้งโจทย์ปัญหาวิจัย
ไม่ควรตั้งโจทย์ปัญหาเพียงการศึกษาสภาพว่าเกิดอะไรขึ้นกับผู้เรียน ไม่ควรตั้งโจทย์ปัญหาในลักษณะการตรวจสอบว่าปัญหานั้นเป็นจริงหรือไม่ พยายามตั้งโจทย์ปัญหาที่ลึกซึ้งให้คำตอบที่นำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนได้อย่างแท้จริง

43 ระดับปัญหาการวิจัย ปัญหาการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาสภาพของผู้เรียน
ปัญหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้ผู้เรียนเกิดปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับวิธีแก้ปัญหา

44 ปัญหาการวิจัยที่ดีสำหรับการวิจัยในชั้นเรียน
ควรมีความหมายและเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนการสอนโดยตรง ผลการวิจัยเกิดประโยชน์ทางปฏิบัติแก่ครูผู้วิจัยหรือทำให้เกิด ความเข้าใจปัญหาดีขึ้น ต้องสามารถหาคำตอบได้อย่างสอดคล้องกับศักยภาพของครู มีขอบเขตที่เหมาะสม ไม่กว้างขวางหรือลึกซึ้งเกินศักยภาพของ ครูที่จะทำการวิจัย ควรสอดคล้องกับประสบการณ์ ความสนใจและความถนัดของครูผู้วิจัย ความพร้อมและแรงจูงใจในการวิจัย

45 ตัวอย่างปัญหาวิจัย ทำไมนักเรียนชั้น ม.๔ จึงเรียนคณิตศาสตร์อ่อน ?
สาเหตุอะไรบ้างที่ทำให้นักเรียนชั้น ม.๔ เรียนคณิตศาสตร์อ่อน? ปัจจัยอะไรทำให้นักเรียนชั้น ม.๔ เรียนคณิตศาสตร์อ่อน? ถ้าใช้วิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองฝึกให้นักเรียนรู้จักใช่ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์จะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นหรือไม่?

46 การสร้างและพัฒนานวัตกรรม
ความหมาย …. หมายถึง แนวคิด วิธีการ กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆที่นำมาใช้แก้ปัญหา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพตรงตามเป้าหมายของหลักสูตร ประเภท สื่อการเรียนการสอน 2. เทคนิควิธีการสอน

47 นวัตกรรมสำหรับนักเรียน นวัตกรรมผสมผสาน
ประเภทของนวัตกรรม นวัตกรรมสำหรับครู นวัตกรรมสำหรับนักเรียน นวัตกรรมผสมผสาน

48 ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม
ขั้นพัฒนา ขั้นทดลองใช้ ขั้นประเมินและรายงาน

49 ประโยชน์ของนวัตกรรม นักเรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
นักเรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม บรรยากาศการเรียนสนุกสนาน บทเรียนน่าสนใจ วิธีการสอนมีประสิทธิภาพ

50 หลักการเลือกใช้นวัตกรรม
พิจารณาจุดเด่นและวิธีการใช้ของนวัตกรรมว่าตรง กับความต้องการของครูที่จะนำมาใช้หรือไม่ มีข้อมูลจำนวน ประเภทของนวัตกรรมในโรงเรียน และวิธีการได้มา ไม่ต้องคำนึงถึงราคาของนวัตกรรม ก่อนใช้นวัตกรรมต้องฝึกการใช้ให้คล่อง

51 ลักษณะของนวัตกรรมที่ดี
ตรงกับความจำเป็นของสถานการณ์การจัดการศึกษานั้น มีความน่าเชื่อถือและเป็นไปได้สูงที่จะสามารถแก้ปัญหาได้ สามารถนำไปใช้ได้จริงในสถานการณ์จริง มีผลการพิสูจน์เชิงประจักษ์

52 กระบวนการสร้างนวัตกรรม
การศึกษาสภาพปัญหาและจุดที่จะพัฒนา การคิดค้นนวัตกรรม การออกแบบนวัตกรรม การสร้างและพัฒนานวัตกรรม การทดลองใช้นวัตกรรม การประเมินผลการใช้นวัตกรรม

53 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
ให้ผู้เชี่ยวชาญหรือครูที่ชำนาญการ ตรวจสอบ การบรรยายคุณภาพก่อนและหลังการใช้ กับกลุ่มเล็ก การคำนวณค่าร้อยละ P1:P2 การหาประสิทธิภาพโดยสูตร E1/E2

54 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
การหาประสิทธิภาพ โดยคำนวณค่า P1:P2 - P1 หมายถึง ร้อยละของนักเรียนที่สอบ ผ่านเกณฑ์ - P2 หมายถึง ร้อยละที่เป็นจุดตัด/เกณฑ์ การผ่าน

55 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
X: คะแนนการฝึกระหว่างทาง ;F:คะแนนการทดสอบหลังการใช้นวัตกรรม A;B: คะแนนเต็มของการทดสอบระหว่างและหลัง :N:จำนวนนักเรียนทั้งหมด

56 การทดลองใช้นวัตกรรม เป็นการตอบคำถาม “นวัตกรรมที่จะนำไปใช้มีคุณค่าจริงหรือไม่ ? ” นวัตกรรมเป็นเหตุทำให้เกิดผลที่ต้องการ หรือไม่ ? คุณลักษณะของนวัตกรรม เรียกว่าตัวแปรทดลองหรือตัวแปรอิสระ ตัวแปรต้น

57 แบบการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ
เป็นแบบวิจัยที่มุ่งสู่คำตอบในปัญหาที่กำลังศึกษา เป็นแบบวิจัยที่ต้องขจัดอิทธิพลของตัวแปรแทรกซ้อน เป็นแบบวิจัยที่มีความตรงภายใน เป็นแบบการวิจัยที่มีความตรงภายนอก

58 กลุ่มเดียววัดครั้งเดียว(One shot case study)
X O เป็นการวิจัยที่มีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว วัดผลหลังการทดลอง เป็นรูปแบบการวิจัยที่มีข้อบกพร่องด้านการแปลความหมายของผลการทดลอง รูปแบบการวิจัยนี้จึงอาจทำให้การวิจัยมีความตรงภาย(internal validity)ในต่ำ

59 การทดลองกลุ่มเดียววัดก่อนหลัง (One Group Pretest-Posttest Design)
O X O2 O1 หมายถึง การวัดตัวแปรตามก่อนการทดลอง X หมายถึง การใช้นวัตกรรม O2 หมายถึง การวัดตัวแปรตามหลังการทดลอง สถิติที่ใช้ 1.t-test Dependent 2.Willcoxon Mached-pairs 3.Signed ranks test

60 การทดลองกลุ่มเดียวมีการวัดก่อนและหลังการทดลองหลายครั้ง(Time Series Design)
O1 O2 O3 O X O5 O6 O7 O8 O1……O4 หมายถึง การวัดตัวแปรตามก่อนการทดลอง O5…….O8 หมายถึง การวัดตัวแปรตามหลังการทดลอง X หมายถึง การใช้นวัตกรรม(การทดลอง) สถิติที่ใช้ 1.แผนภูมิแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงหรือพิจารณาแนวโน้ม 2. t- test Dependent

61 การทดลองกับกลุ่มสองกลุ่มที่ไม่เสมอภาค ทำการวัดหลังการทดลองทั้งสองกลุ่ม
Posttest only Design with Nonequivalent Groups E X O2 C O2 E หมายถึง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลอง C หมายถึง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มควบคุม X หมายถึง การให้การจัดกระทำแก่กลุ่มตัวอย่าง O หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง สถิติที่ใช้ 1. t-test Independent 2. Chi-square 3. Mann Whitney -U test

62 การทดลองกับกลุ่มสองกลุ่มที่ไม่เสมอภาค ทำการวัดก่อนและหลังการทดลอง
Pre-Post Design with Nonequivalent Groups E O X O2 C O O2 E หมายถึง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลอง C หมายถึง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มควบคลุม O1 หมายถึง การทดสอบก่อนการทดลอง X หมายถึง การให้การจัดกระทำกับกลุ่มตัวอย่าง O2 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง สถิติที่ใช้ 1. t-test Independent 2.ANOVA; 3.ANCOVA

63 Experimental Group-Control Group Posttest Only / Posttest Only Control Group Design
R E X O1 R C O2 สุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม มีคุณลักษณะเริ่มต้นเหมือนกัน ให้กลุ่มทดลองได้รับการทดลองที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการทดลองอื่น วัดผลของการทดลองทั้ง 2 กลุ่ม แล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน

64 แหล่งข้อมูลที่สำคัญของนักเรียน
ข้อมูลจากนักเรียน ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัว ข้อมูลจากโรงเรียน ข้อมูลจากแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลจากเพื่อน

65 ข้อควรคำนึงในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วางแผนและฝึกฝนก่อนทำการเก็บข้อมูล สร้างเครื่องมือ เตือนให้ตอบตามความเป็นจริง ชี้แจงจุดมุ่งหมายการเก็บรวบรวมข้อมูล

66 ข้อควรคำนึงในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้วิธีเดียวกันในการเก็บข้อมูล ขจัดความลำเอียงหรืออคติส่วนตัว เก็บข้อมูลจากแหล่งที่ให้ความร่วมมือ ใช้หลักจิตวิทยากับผู้ให้ข้อมูล

67 ตารางการเลือกใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล
วิธีการเก็บข้อมูล ตัวแปร/ข้อมูล วัตถุประสงค์การวิจัย แหล่งข้อมูล เครื่องมือ

68 เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถามและแบบสำรวจ แบบทดสอบ การสัมภาษณ์ การสังเกต การวิเคราะห์เอกสาร แฟ้มสะสมงาน

69 หลักการเลือกใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือนั้นสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ต้องพิจารณาถึงข้อดี ข้อจำกัดของเครื่องมือแต่ละประเภท ต้องคำนึงถึงความคุ้มค่า และประสิทธิภาพ

70 ตัวอย่างการเลือกใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล
ประเภทของตัวแปร 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.ความถนัด 3.ความสนใจ 4.เจตคติ 5.พฤติกรรมต่างๆ 6.ข้อมูลทางกายภาพ 7.ข้อมูลที่ต้องการรายละเอียด 8.ข้อมูลในเรื่องที่เกิดขึ้นแล้ว เครื่องมือ 1.แบบทดสอบ 2.แบบทดสอบ 3.แบบวัดความสนใจ 4.แบบวัดเจตคติและการจัดอันดับคุณภาพ 5.การสังเกต 6.การสังเกตหรือแบบสอบถาม 7.การสัมภาษณ์หรือแบบสอบถาม 8.การวิเคราะห์หลักฐานต่างๆหรือแบบสอบถาม

71 ข้อควรคำนึงในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วางแผนและฝึกฝนก่อนทำการเก็บรวบรวมข้อมูล สร้างเครื่องมือให้ชัดเจน ย้ำเตือนให้ตอบให้ถูกต้อง จะต้องชี้แจงจุดมุ่งหมายของการเก็บรวบรวมข้อมูล ต้องใช้วิธีการดำเนินการเดียวกันในการเก็บรวบรวมข้อมูล

72 การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง การนำเอาข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ทำการจัดระเบียบแยกแยะข้อมูลออกเป็นส่วนๆเพื่อสรุปเป็นคุณลักษณะแล้วนำไปเป็นคำตอบตามวัตถุประสงค์การวิจัย

73 Scales Of Measurement Ordinal Scale (มาตราเรียงอันดับ)
Nominal Scale (มาตรานามบัญญัติ) Ordinal Scale (มาตราเรียงอันดับ) Interval Scale (มาตราอันตรภาค) Ratio Scale (มาตราอัตราส่วน)

74 บรรยายข้อมูลเบื้องต้น(สรุปข้อมูล)
ลักษณะข้อมูล ๑.ข้อมูลแบบกลุ่ม เช่นเพศ ๒.ข้อมูลต่อเนื่องเช่นอายุ ๓.ข้อมูลต่อเนื่องที่แปลงเป็นข้อมูลกลุ่ม สถิติที่ใช้ ๑.การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ๒.ค่าเฉลี่ย ค่าพิสัย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๓.ใช้ตามข้อ ๑

75 เปรียบเทียบความแตกต่าง
สถิติบรรยาย ใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และกราฟ สถิติทดสอบ ใช้ t-test (๑ กลุ่มหรือ ๒กลุ่ม) ลักษณะข้อมูล ข้อมูล ๒ ชุดที่นำมา เปรียบเทียบ ต้องเป็นข้อมูลต่อเนื่อง

76 การทดสอบค่าที(t – test)
เป็นการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยสองกลุ่มว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ กรณีที่1 : ความแปรปรวนของประชากรไม่แตกต่างกัน โดยมีข้อตกลงว่า (1) ตัวอย่างได้จากการสุ่มและเป็นอิสระต่อกัน (2) กลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก (N น้อยกว่า 30) (3) ความแปร ปรวนของประชากรเป็นอันเดียวกัน (4) การแจกแจงของความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยเป็นรูปโค้งปกต

77 การทดสอบค่าที(t – test)
กรณีที่ 2 ความแปรปรวนของประชากรแตกต่างกัน โดยมีข้อตกลงว่า (1) ตัวอย่างได้จากการสุ่มและเป็นอิสระต่อกัน (2) การแจกแจงของประชากรเป็นโค้งปกติหรือใกล้เป็นโค้งปกติ (3)ค่าของความแปรปรวนทั้งสองกลุ่มแตกต่างกัน (4) ขนาดของกลุ่มตัวอย่างเล็ก คือน้อยกว่า 30 แต่มีขนาดแตกต่างกันมาก

78 การทดสอบค่าที(t – test)
กรณีที่ 3 เมื่อสองค่าเฉลี่ยกลุ่มเล็กที่ไม่เป็นอิสระจากกัน โดยมีข้อตกลงว่า (1) เป็นคะแนนที่ได้มาเป็นคู่จากคนเดียวกันหรือจากคู่ที่มีคุณลักษณะเหมือนกัน ทุกประการ (2) คู่ของสิ่งที่จะศึกษาต้องสุ่มด้วย (3) การแจกแจงของความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่แจกแจงเป็นโค้งปกติ

79 การทดสอบความแตกต่างกลุ่มขนาดเล็ก
ใช้ Non- parametric Statistic Sign test Mann-Whitney U test

80 วิเคราะห์ความสัมพันธ์
ลักษณะข้อมูล ข้อมูล ๒ ชุด(๒ตัวแปร)ของกลุ่มตัวอย่างเดียว (ข้อมูลต่อเนื่อง) สถิติบรรยาย ใช้สถิติพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง(ค่าเฉลี่ย,ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน)และค่าสหสัมพันธ์ สถิติทดสอบ ใช้ t-test เพื่อยืนยันว่าความสัมพันธ์มีนัยสำคัญหรือไม่

81 การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง
1. ตารางแบบทางเดียว (One-way Table) 2. ตารางแบบสองทาง (Two-way Table) 3. ตารางแบบหลายทาง (Multi-way Table) 4. ตารางแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution Table) 5. ตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธ์ ( Relative Frequency Distribution Table)

82 การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ
(1) แผนภูมิแท่ง (Bar Chart) - แผนภูมิแท่งเชิงเดียว (Simple bar Chart) - แผนภูมิแท่งเชิงซ้อน (Multiple Bar Chart) (2) แผนภาพวงกลม (Pie Chart) (3) แผนภาพเชิงเส้น (Line Chart) - แผนภาพเชิงเส้นเดี่ยว (Simple Line Chart) - แผนภาพเชิงเส้นซ้อน (Multiple Line Chart) (4) ฮีสโตแกรม (Histogram) (5) แผนภาพลำต้นและใบ (Stem and Leaf)


ดาวน์โหลด ppt การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google