งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บสนุนการจัดบริการ การจัดบริการ สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บสนุนการจัดบริการ การจัดบริการ สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บสนุนการจัดบริการ การจัดบริการ สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ 4 ประเด็นการตรวจราชการ 1. การบริหารการเงินการคลัง 2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 3. การตรวจสอบภายใน 4. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ 4 ประเด็นการตรวจราชการ 1. การบริหารการเงินการคลัง 2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 3. การตรวจสอบภายใน 4. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 1

2 การบริหารการเงินการคลัง (CFO) เขตสุขภาพที่ 10 ประเด็นการตรวจราชการ : การบริหารการเงินการคลัง 1.ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินการคลังสามารถ ควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) 2. หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน เกณฑ์ เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (ไม่เกินร้อยละ 20) 2

3 ข้อมูลถูกต้อง Strengthening ระบบ KPI เฝ้าระวัง เขต จังหวัด ข้อมูล ทางการเงิน Self Accessment 1. บริหารทางการเงิน 38 Kpis 2. คุณภาพบัญชีหน่วยบริการ Self Accessment 1. บริหารทางการเงิน 38 Kpis 2. คุณภาพบัญชีหน่วยบริการ เฝ้าระวัง บริหารจัดการ ติดตาม เฝ้าระวัง Financial Accreditation Score FAS ปรึกษา/ช่วยเหลือ พัฒนาวิชาการ การเงิน แผน รายรับ/ รายจ่าย ธรรมาภิบาล จัดซื้อ/จ้าง benchmark ช่วย=เจ้าหนี้การค้า 2ด/1ด benchmark แนวทางการขับเคลื่อน CFO เขตสุขภาพที่ 10 LOI คะแนน> ร้อยละ80 ข้อมูลถูกต้อง/ปรับปรุงระบบ Self Accessment บริหารทางการเงิน คุณภาพบัญชี ข้อมูลถูกต้อง/ปรับปรุงระบบ Self Accessment บริหารทางการเงิน คุณภาพบัญชี คะแนน> ร้อยละ80 Fixed cost ตาม แผน โรงพยาบาล วิกฤติทาง การเงิน ไตรมาส 4/58

4 สาเหตุหลักที่ ร.พ. มีวิกฤติการเงินการคลัง 1.สาเหตุทางด้านบัญชี ไม่ถูกต้อง 2.สาเหตุด้านการบริหารจัดการ 2.1 นโยบายและระบบการจัดสรรงบแม่ข่าย-ลูกข่าย ด้านการเงินการคลังในเครือข่าย 2.2 การบริหารจัดการภายในโรงพยาบาล เช่น มีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรสูง, การควบคุมภายใน การก่อหนี้ของหน่วยจัดซื้อ, อัตราการสำรองคลังวัสดุสูง 2.3 ศักยภาพและด้านทรัพยากร ทำเล พื้นที่ บุคลากร ครุภัณฑ์ เช่น การส่งต่อผู้ป่วย Refer มาก 2.4 การควบคุมกำกับแผนการเงินการคลัง ยังขาดประสิทธิภาพ เช่น ประสิทธิภาพการเรียกเก็บลูกหนี้, ใช้จ่ายเงิน ไม่เป็นไปตามแผน 3. นโยบายและปัจจัยอื่น ๆ : การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร เพิ่มขึ้น : ปริมาณผู้ป่วยนอก (UC OP) เพิ่มขึ้น : การแยกหน่วยบริการเพิ่ม (CUP Split) ในเครือข่ายเดียวกัน : โครงการฯ ตามนโยบายส่วนกลางเพิ่ม ทำให้ใช้ทรัพยากร วัสดุ ในการบริการเพิ่มขี้น / การตรวจรับรองคุณภาพ Audit บัญชี Monitor Process 38 KPIs บริหารความเสี่ยง

5 1.การบริหารแผนการเงินการคลังและ CFO 2.การบริหารงานพัสดุ 3.การบริหารงานการเงิน-บัญชี 4.การบริหารงานจัดเก็บรายได้ 5.การบริหารงานบัญชีและต้นทุน 6.การบริหารงานควบคุมภายใน * ตัวชี้วัดระดับเขตนี้ ได้พัฒนาเพิ่มเติมในกระบวนงานที่สำคัญ ที่เชื่อมโยง มีผล ต่อระบบการเงินการคลัง เพื่อให้มีการประเมินตนเองและเกิดพัฒนาดูแล กำกับ ประเมินผล ในหน่วยงานของตนเองได้ 2= มีครบถ้วนสมบูรณ์, 1= มี/ไม่สมบูรณ์ และ 0=ไม่มี 1. ตัวชี้วัดการเงินการคลังระดับเขต 38 ตัว (RHG 10 CFO 38KPIs ) 2. คุณภาพบัญชีหน่วยบริการ + Financial Accreditation Score (FAS) : Self Accessment in Process and Account Quality

6 ทีมนักบัญชีทุกจังหวัดออกตรวจหน่วยบริการ 5 จังหวัด 71 แห่ง...ตามโครงการเร่งรัดพัฒนาคุณภาพบัญชี รายงานทาง Line สรุปผลคะแนน คุณภาพบัญชี ให้ผู้บริหาร ทราบทุกวัน

7 ผลการดำเนินการ ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการ (ไม่เกินร้อยละ 10) ณ สิ้น ไตรมาส 2/2558 7 จังหวัดกลุ่มเป้าหมายวิกฤติการเงินระดับ 7คิดเป็นร้อยละ อุบลราชธานี26415.38 ศรีสะเกษ22-- ยโสธร9111.11 อำนาจเจริญ7114.28 มุกดาหาร7114.28 รวม7179.85

8 เปรียบเทียบการควบคุมปัญหาวิกฤติการเงินระดับ 7 8

9 ผลการดำเนินกา ร หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่ม ระดับบริการ (ไม่เกินร้อยละ20) ณ สิ้น ไตรมาส 2/2558 9 จังหวัดกลุ่มเป้าหมายต้นทุนต่อหน่วยเกิน เกณฑ์เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ อุบลราชธานี26726.92 ศรีสะเกษ22418.18 ยโสธร9222.22 อำนาจเจริญ700 มุกดาหาร7571.42 รวม711825.35

10 ผลการดำเนินการ FAI ผ่านเกณฑ์ประเมิน > ร้อยละ 80 ณ สิ้น ไตรมาส 2/2558 10 จังหวัดกลุ่มเป้าหมาย FAI ไม่ผ่านเกณฑ์ อุบลราชธานี266 ศรีสะเกษ22- ยโสธร9- อำนาจเจริญ7- มุกดาหาร72 รวม718

11 ผลการดำเนินการ ความสำเร็จการบริหารการเงินการคลัง FAI Score 11

12 กระบวนการแก้ปัญหาทางการเงินให้พ้นวิกฤติระดับ 7 1. มีการพัฒนาทักษะบุคลากรงานบัญชี โดยส่วนกลาง 2. ออกตรวจสอบคุณภาพบัญชีโดย External audit : อยู่ระหว่างการพัฒนาคุณภาพ บัญชี ในไตรมาส 1-2/58 3. ออกตรวจสอบและติดตามแผนการเงินการคลัง ในหน่วยบริการ รพ.วิกฤติ 4. จัดทำต้นทุนเพื่อสะท้อน OP IP Unit Cost ทุกเดือน 5. จัดทำ FAI 12

13 ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จ  ภาวะผู้นำ การออกแบบระบบการเงินการคลังที่ดี มีการบริหารร่วมในทุกระดับ  ผู้บริหารเอาใจใส่ด้านระบบการเงินการคลัง วินัย การเงินการคลังที่ดี  มีการช่วยเหลือกันในระดับจังหวัด 13

14 ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย  รายจ่ายหลายหมวดเพิ่มใน รพ.หลายแห่ง ระบบบริหาร ภายใน การกำกับแผนการเงินการคลัง  ขบวนการแก้ปัญหา รพ.วิกฤติระดับ 7 ต้องมีส่วนร่วมกันของ ผู้เกี่ยวข้อง สร้างความตระหนัก และพัฒนาองค์ความรู้  การพัฒนาทีมงาน CFO ระดับ CUP และการเงินการคลัง ให้ผู้บริหาร  จังหวัดมีสัดส่วนค่าแรงต่อรายจ่ายรวม (LC) ค่อนข้างสูง ต่อผลผลิตที่ได้รับ ทั้ง รพช. และ รพ.สต.  บุคลากรด้านการเงินมีจำนวนน้อย และส่วนใหญ่ยังไม่ได้เป็น ข้าราชการ ทำให้พัฒนาระบบงานไปอย่างไม่ต่อเนื่อง 14

15 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1.พัฒนาระบบคุณภาพบัญชี บางแห่งยังคลาดเคลื่อน ควรเร่งทำความ เข้าใจกับผู้จัดทำ โดยเฉพาะ รพ.ที่เปิดใหม่ รวมทั้งจัดระบบการไหล ของข้อมูลให้ถูกต้อง มีระบบตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพ 2.การปฎิบัติตามระเบียบกรมบัญชีกลาง การนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2551 หมวด 8 เรื่อง เงินนำส่ง/ฝากคลัง (เงินนอกงบประมาณ) 3.ใน รพ.บางแห่งที่มีต้นทุนสำรองสุทธิส่วนเกินมาก ควรพิจารณาการ เปลี่ยนแปลงสินทรัพย์หมุนเวียน เป็นสินทรัพย์ถาวร เพื่อสร้างรายได้ และเกิดประโยชน์ในการบริการประชาชน 4.ให้จังหวัดพัฒนาประสิทธิภาพ ของการบริหารการเงิน แก้ไขปัญหา การเงินระดับ 7 และระบบการจัดทำต้นทุนให้ต่อเนื่อง ครบทุกหน่วย บริการ 5.การพัฒนาบุคลากรด้านการเงิน การบรรจุ เพื่อสร้างความต่อเนื่องใน การพัฒนาระบบ การเงินการคลังหน่วยบริการ 15

16 นวัตกรรมที่เป็นแบบอย่าง  ระบบการบริหารการเงินการคลังที่ดี ได้แก่ รพ.ราศีไศล (วางแผนและวินัยการคลัง) และ รพ.ม่วงสามสิบ (ฟื้นจากวิกฤติการเงิน)  การพัฒนาระบบการจัดทำต้นทุนและประสิทธิภาพ ในการจัดเก็บเพิ่มรายได้ ได้แก่ รพท. ยโสธร 16

17 17 การนิเทศงานด้านเภสัชกรรม ปีงบประมาณ 2558 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหาร จัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ปีงบประมาณ 2558 อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม และมีจริยธรรม

18 18 อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการด้าน ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของส่วนราชการและหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557 (ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม 2557 เป็นต้นไป) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการ จัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่ มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557 (ประกาศ ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2557)

19 19 อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม ประเด็นการนิเทศงาน เน้นการดำเนินการตามนโยบายการสร้างธรรมาภิบาล ในการจัดซื้อจัดหายา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา โดยเน้นการ กำกับติดตาม การปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการบริหารจัดการด้านยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2557 การกำกับติดตาม การดำเนินการตามประกาศเกณฑ์ จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา และเวชภัณฑ์ที่ มิใช่ยาของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปัญหา อุปสรรค/ข้อจำกัด และการบริหารจัดการเพื่อ ควบคุมและแก้ไขปัญหาดังกล่าว

20 20 อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม ประเด็นหลัก การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านยาและ เวชภัณฑ์ฯ การลดค่าใช้จ่ายด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ

21 21 อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมี จริยธรรม ผลลัพธ์ที่ต้องการ การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ มีประสิทธิภาพ ดำเนินการกำกับติดตามประเมินผล อย่าง เป็นระบบ โปร่งใส สอดคล้องตามระเบียบกำหนด ต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของหน่วยงาน ต่อผู้ป่วยลดลง และการใช้ยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาเหมาะสม ในหน่วยบริการแต่ละระดับ

22 22 ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558 ลดต้นทุนของยา และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของหน่วยงาน ลดลงร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ 2557 มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ฯ ของหน่วยงาน เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อ ยาและเวชภัณฑ์ฯ ทั้งหมด

23 มูลค่าจัดซื้อยา 23

24 24 มูลค่าการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลในเขตส่วน ใหญ่เพิ่มขึ้น มีเพียงจังหวัดอุบลราชธานี (รพ.สรรพสิทธิประสงค์) เท่านั้นที่ลดลง อย่างไรก็ตาม มูลค่าการจัดซื้อยาในภาพรวม เขต เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.79

25 มูลค่าจัดซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 25

26 26 มูลค่าการจัดซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาเพิ่มขึ้น มีเพียงจังหวัดยโสธร เท่านั้น ที่ลดลง ยังต้อง ตามดูการจัดซื้อ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งอาจเปลี่ยนเป็นการจ้างตรวจได้

27 มูลค่าจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ฯ 27

28 28 มูลค่าการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มขึ้น โดยมีเพียงจังหวัดศรีษะเกษ และ มุกดาหาร ลดลง การจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ อาจเปลี่ยนเป็น การส่งตรวจได้

29 การจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ฯ 29

30 การจัดซื้อร่วม 30 ชื่อโรงพยาบาล การจัดซื้อร่วม การจัดซื้อทั้งหมด ร้อยละ อุบลราชธานี 169,414,185.781,262,338,882.78 13.42 ศรีษะเกษ 67,913,054.98429,859,037.42 15.80 ยโสธร 14,660,909.89110,675,566.13 13.25 อำนาจเจริญ 14,751,948.97110,735,580.46 13.32 มุกดาหาร 7,865,255.73106,535,241.97 7.38 ภาพรวมเขต 274,605,355.352,020,144,308.76 13.59

31 การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการ ยาและเวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวง สาธารณสุข มีการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการ ติดตามบทบาท มีกรอบและบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่ สอดคล้อง ควรครอบคลุมถึงยาสมุนไพร และยาที่ได้รับการ สนับสนุน และยาที่มีการส่งต่อ สอดรับกับ service plan สามารถขอขยายกรอบได้โดยเสนอนพ.สสจ.เป็นผู้อนุมัติ แผนจัดซื้อ การจัดทำแผน ตามความเป็นจริง และการขออนุญาต ปรับแผน แผนการสำรองร่วม 31

32 การสั่งใช้และการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาอย่าง สมเหตุผล เน้นเชิงคุณภาพมากขึ้น จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการ ขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา การประเมินผลการดำเนินการ สอดรับกับ ITA ระบบควบคุมกำกับต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ฯ กลไกในการควบคุมต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ฯ ยังเป็นการควบคุมราคาจัดซื้อโดยผ่านการจัดซื้อ ร่วมเป็นหลัก ควรมีการทำ Utilization Evaluation/Review 32

33 การรายงานและการควบคุมกำกับการ บริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ ระบบในการ รายงาน เพื่อควบคุมกำกับการ บริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ฯ และการ นำข้อมูลมาจัดการ ให้เป็นสารสนเทศที่ใช้งาน ได้จริง โดยไม่สร้างภาระเพิ่มให้กับหน่วยงาน ยังเป็นประเด็นที่ต้องพัฒนาในทุกๆจังหวัด 33

34 ข้อสังเกต ปัญหา อุปสรรค ไม่สามารถควบคุม ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อยาและวัสดุ ทางการแพทย์ได้ Unit Cost (ค่ายา, ค่าแล็บ) ผู้รับผิดชอบมีความหลากหลาย ราคาในการจัดซื้อมีความหลากหลาย แนวทางในการสร้างความโปร่งใส ในการจัดซื้อที่เป็น รูปธรรม 34

35 ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา Unit Cost (ค่ายา, ค่าแล็บ) สร้างแนวทางในการเปิดเผยราคาในการจัดซื้อที่เป็นรูปธรรม จัดทำราคาอ้างอิงในภาพรวมของเขต/ประเทศ ให้ครอบคลุม ทุกหมวด บูรณาการเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางการบัญชีและการ บริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา สร้างเครือข่ายในการเชื่อมโยงข้อมูลการจัดซื้อ การบริหาร จัดการ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ยา, แล็บ, วมย.) 35

36 การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ประเด็นการตรวจราชการ  ด้านการส่งเสริมป้องกัน - เสริมสร้างวินัย คุณธรรม จริยธรรม - โรงพยาบาลคุณธรรม  ด้านการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน  ด้านการแก้ไข ลงโทษทางวินัย 36

37 เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับในหน่วยงาน ระดับ จังหวัด ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 10 มีการดำเนินการเสริมสร้าง และพัฒนาบุคลากร ให้ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด ได้เป็นอย่างดีมีระดับขั้นตอน ของความสำเร็จในการดำเนินการระดับ 4 ทุกจังหวัด 37 ผลการดำเนินงาน

38 สถานการณ์ พบว่า ในเขตสุขภาพที่ 10 การดำเนินการเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด ให้มี วินัย คุณธรรม จริยธรรมและป้องกันการกระทำผิดได้ดำเนินอยู่ใน ระดับที่นำไปสู่การขับเคลื่อนนโยบายได้เป็นอย่างดี ไม่พบความเสี่ยง ต่อการทำให้การขับเคลื่อนนโยบายหรือการดำเนินงานไม่ประสบ ความสำเร็จ ควรมีการพัฒนาองค์ความรู้ ในสายงานต่าง ๆ และสร้างความตระหนัก ด้านธรรมาภิบาล ในกลุ่มผู้บริหารหน่วยงานย่อย และผู้รับผิดชอบด้าน งานการเงิน พัสดุ ของหน่วยงานย่อยทุกระดับให้ครอบคลุมและ ต่อเนื่อง 38

39 เสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยงานบริการ สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้มีแนวทางดำเนินงาน โรงพยาบาลคุณธรรม ภาพรวมของเขตสุขภาพที่ 10 ยังไม่มีโครงสร้าง และ ผู้รับผิดชอบงาน ที่ชัดเจน และไม่เข้าใจในนิยาม และเจตนารมณ์ “โรงพยาบาลคุณธรรม” ซึ่งหมายถึง รพ.ที่มีการบริหารจัดการด้วยความ โปร่งใส ซื่อสัตย์ ประหยัด ยึดมั่น ในสิ่งที่ถูกต้องบนพื้นฐานทางศีลธรรม วัฒนธรรม หลัก กฎหมาย ให้บริการด้วยความมีน้ำใจ เคารพในศักดิ์ศรีคุณค่าของ ผู้ให้บริการและบุคคลอื่น ปฎิบัติงานด้วยความสุข เพื่อประโยชน์ของ ประชาชนและแผ่นดิน ควรมีโครงสร้าง และ ผู้รับผิดชอบงานคุณธรรม จริยธรรม ที่ชัดเจน เพื่อเป็นผู้นิเทศงานและให้ คำปรึกษาเรื่อง แนวคิด และแนวทางการดำเนินงาน (หน่วยงาน)โรงพยาบาลคุณธรรม ในระดับ จังหวัด ให้เชื่อมโยง กับแนวทางการตรวจราชการคณะที่ 3 เพื่อบริหาร จัดการ คน เงิน ของ ในหน่วยงาน (โรงพยาบาล) ตามหลักธรรมาภิบาล ต่อไป อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน ทุกโรงพยาบาลมีชมรมจริยธรรม ที่เข้มแข็ง พร้อมที่จะขับเคลื่อนโรงพยาบาลคุณธรรมได้ 39

40 เป้าหมายในการดำเนินงาน โรงพยาบาลคุณธรรม เขตสุขภาพที่ 10 40

41 สถานการณ์ โรงพยาบาลคุณธรรม 41 สถานการณ์ การจัดโครงสร้าง และผู้รับผิดชอบงานที่ตอบสนองภารกิจ พบว่า มีโครงสร้าง และ ลักษณะงาน ที่เหมือน และแตกต่างกัน ในแต่ละจังหวัด

42 ด้านการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน พบว่า แผนตรวจสอบภายในประจำปี งบประมาณ 2558 ครอบคลุมทุก กระบวนงาน ตามความเสี่ยงสอดคล้องตามนโยบายสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และมีการจัดทำแผน Engagement plan ทุก หน่วยรับตรวจและอยู่ในระหว่างจัดทำรายงาน ผลการปฎิบัติงานตรวจสอบ ภายใน ปัญหา อุปสรรค มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและบุคลากรและ คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่าย ที่ได้รับแต่งตั้ง มีภาระงาน หลักที่ต้องรับผิดชอบ ทำให้ไม่สามารถร่วมตรวจสอบกับคณะได้ครบถ้วน ทุกหน่วยงาน 42

43 ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ ผู้บริหาร ควรติดตาม กำชับหน่วยงานย่อย จัดทำการประเมินระบบการ ควบคุมภายใน ให้ครบทุกหน่วยงาน เป็นไปตามที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด และจัดทำแผนเพิ่มเติมให้ครอบคลุม การตรวจสอบภายใน ผู้บริหารจะต้องให้มีแผนการ ตรวจสอบภายใน และจะต้องได้รับการตรวจสอบครอบคลุมทุกระดับ

44 ด้านแก้ไขปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ : การแก้ไขปัญหา ปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถูกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย พบว่า การดำเนินการไม่ครบถ้วน กรณีการจัดทำรายงาน ทางการเงิน เสนอผู้บริหาร และรายงาน สตง. ไม่ทันตามกำหนดเวลา ของ สสจ.อุบลราชธานี ควรกำชับให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการตาม ระเบียบอย่างเคร่งครัด ข้อเสนอแนะ ควรมีการพัฒนาองค์ความรู้ในสายงาน และ สร้างความตระหนัก ด้านธรรมาภิบาล ในกลุ่มหน่วยงานย่อยและ ผู้รับผิดชอบงานด้านการเงิน และพัสดุ ของหน่วยงานทุกระดับให้ ครอบคลุมและต่อเนื่อง 44

45 ตาราง สรุปจำนวนเรื่องร้องเรียน และการดำเนินการ ทางวินัยในปี 2558 45

46 สรุปการประเมินตามประเด็นตรวจติดตามและหลักฐาน ประกอบที่ถูกต้องครบถ้วน 4 ด้าน 46

47 สรุปภาพรวมปัญหาอุปสรรคที่เป็นโอกาสในการพัฒนา การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ 1.กระบวนการแก้ปัญหา รพ.วิกฤติระดับ 7 ผู้เกี่ยวข้องทุกส่วนต้องมีส่วนร่วม สร้างความ ตระหนัก และพัฒนาองค์ความรู้ในทุกระดับ และเรื่องคุณภาพบัญชียังขาดความน่าเชื่อถือ และวินัยด้านการเงินการคลังที่ดี ของหน่วยบริการ ให้ใช้ในการกำกับ ปฏิบัติตามแผนได้ จริง, บุคลากรด้านการเงิน มีจำนวนน้อย และส่วนใหญ่ยังไม่ได้เป็นข้าราชการทำให้การ พัฒนาระบบงานเป็นไปอย่างไม่มีความต่อเนื่อง, การพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลัง FAI, บริหารต้นทุนให้มีประสิทธิภาพ และเร่งพัฒนาคุณภาพบัญชีให้มีความน่าเชื่อถือ 2.ไม่สามารถควบคุมค่าใช้จ่าย ในการจัดซื้อยาและวัสดุทางการแพทย์ได้, ราคาในการจัดซื้อมี ความหลากหลาย, การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุยังไม่ถูกต้อง ควรพัฒนาฐานข้อมูล ราคาอ้างอิงในการจัดซื้อในวัสดุให้ครอบคลุมทุกหมวด และ Utilization Evaluation/Review เป็นมาตรการเพิ่มเติมด้วย 3.ควรมีการพัฒนาองค์ความรู้ในสายงานต่าง ๆ และสร้างความตระหนัก ด้านธรรมาภิบาล ใน กลุ่มผู้บริหารหน่วยงานย่อย และผู้รับผิดชอบด้านงานการเงิน พัสดุ ของหน่วยงานย่อยทุก ระดับให้ครอบคลุมและต่อเนื่อง 4.ควรมี โครงสร้าง และกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ในด้านระบบธรรมภิบาลแก่บุคลากรเพื่อ สร้างระบบคุณธรรมในองค์กร 47

48 Thank you 48


ดาวน์โหลด ppt บสนุนการจัดบริการ การจัดบริการ สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google