ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2
ความหมาย ตัวแปรเดี่ยว int a; ตัวแปรชุด (หรือแถวลำดับ หรือ อาร์เรย์)
? a a 1 2 3 9 8 ตัวแปร a จะเก็บค่าของข้อมูลได้ 10 ค่า ใช้ index เพื่อระบุตำแหน่ง เช่น a[3] หมายถึง ตัวแปร a ตำแหน่งที่ 3 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
3
ตัวอย่างการนำไปใช้ เขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน 10 คน และให้แสดง คะแนนที่มีค่าเท่ากับคะแนนเฉลี่ยขึ้นไป การหาค่าเฉลี่ย จำเป็นต้องรู้จำนวนข้อมูล และค่าของข้อมูลทุกตัว การแสดงผลเฉพาะนักเรียนที่มีคะแนนเท่ากับค่าเฉลี่ย จำเป็นต้องเก็บข้อมูลทุกตัวไว้ เขียนโปรแกรมเพื่อเรียงลำดับเลข 20 จำนวน ต้องรับตัวเลขให้ครบทุกจำนวนก่อน จึงจะทำการเรียงลำดับได้ a 1 2 3 9 8 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
4
การประกาศตัวแปรแบบอาร์เรย์
รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จำนวนช่องที่เก็บข้อมูล]; int n[10]; หมายถึง กำหนดให้อาร์เรย์ n เป็นตัวแปรชุด ชนิดเลขจำนวน เต็มที่สามารถเก็บข้อมูลได้ 10 ตัว โดยกำหนดค่าเริ่มต้นให้ อาร์เรย์ n[0], n[1], .., n[9] ตามลำดับ int x[5]={10,20,30,40,50}; หมายถึง กำหนดให้อาร์เรย์ x เป็นตัวแปรชุด ชนิด เลขจำนวนเต็ม ที่สามารถเก็บข้อมูลได้ 5 ตัว โดยกำหนดค่า เริ่มต้นให้อาร์เรย์ x[0],x[1], .., x[4] เป็น 10, 20, 30, และ 50 ตามลำดับ char name[30]; หมายถึง กำหนดให้อาร์เรย์ name เป็นตัวแปรชุดชนิด ข้อความที่สามารถเก็บข้อมูลได้ 29 ตัวอักษร โดยที่ข้อมูล ตำแหน่งที่ 30 จะเก็บ \0 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
5
ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimension Array)
ตัวอย่าง int a[10]; หมายถึง คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำให้สำหรับตัวแปร a เป็นตัวแปรชุดชนิดจำนวนเต็มแบบ 1 มิติ มีจำนวนสมาชิก 10 ตัว โดยในหน่วยความจำจะเตรียมที่ไว้ให้ 2 ไบท์ สำหรับสมาชิกแต่ละตัว ดังนี้ a[0] a[1] a[2] a[9] .... 1000 1001 1002 1003 1004 1005 ? ? กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
6
ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimension Array)
ตัวอย่าง char b[10]; หมายถึง คอมพิวเตอร์จองพื้นที่สำหรับตัวแปร b ให้เป็นตัวแปรชุดชนิดตัวอักขระ แบบ 1 มิติมีจำนวนสมาชิก 10 ตัว โดยหน่วยความจำจะจัดเตรียมเนื้อที่ให้ 1 ไบท์ สำหรับสมาชิกแต่ละตัว ดังนี้ b[0] b[1] b[2] b[9] .... 2000 2001 2002 2009 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
7
ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimension Array)
ตัวอย่าง float c[5]; หมายถึง คอมพิวเตอร์จองพื้นที่สำหรับตัวแปร c ให้เป็น ตัวแปรชุดชนิดตัวเลขมีจุดทศนิยม แบบ 1 มิติมีจำนวนสมาชิก 5 ตัว โดยหน่วยความจำจะจัดเตรียมเนื้อที่ให้ 4 ไบท์ สำหรับสมาชิกแต่ละตัว ดังนี้ ... 1000 1001 1002 1003 1004 1005 1006 1007 1016 1017 1018 1019 C[0] C[1] C[4] กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
8
ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติ
Begin End n [ ] ]= 10 1 20 2 30 #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n[3]; clrscr(); n[0]=10; n[1]=20; n[2]=30; printf("Array[0] = %d\n",n[0]); printf("Array[1] = %d\n",n[1]); printf("Array[2] = %d\n",n[2]); }
9
ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติ
#include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n[3]={10,20,30}; clrscr(); printf("Array[0] = %d\n",n[0]); printf("Array[1] = %d\n",n[1]); printf("Array[2] = %d\n",n[2]); } อาร์เรย์ ลำดับที่ (Index) 10 20 30
10
ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติร่วมกับโครงสร้างการทำงานซ้ำ
#include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n[3]={10,20,30}; int i; clrscr(); for(i=0;i<=2;i++) printf("Array[%d] = %d\n",i,n[i]); }
11
แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน 10 คน และให้แสดง คะแนนที่มีค่าเท่ากับคะแนนเฉลี่ยขึ้นไป เขียนโปรแกรมเพื่อเรียงลำดับเลข 20 จำนวน จากสูตรคำนวณหาเงินฝากทบต้น มีดังนี้ เงินฝากทบต้น = เงินต้น x ( 1 + อัตราดอกเบี้ย ) จำนวนปี จงเขียนโปรแกรมป้อนเงินต้น ดอกเบี้ย และจำนวนปีที่ฝาก แล้วพิมพ์ ผลลัพธ์เงินฝากทบต้น ตั้งแต่ปีแรก จนถึงปีสุดท้าย ดังนี้ ปีที่ เงินฝากทบต้น ## #####.## ## #####.## กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.