งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส

2 สถานการณ์วัณโรคเขต 8 จำนวนผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษา (รพ.ในสังกัดสป.+ศวท. รวม 55 แห่ง)

3 สถานการณ์วัณโรคเขต 8 ความครอบคลุมของการค้นหารายป่วย เกินกว่าเป้าหมาย 70% % 704,646,648,625, ,114,100,114, ,372,355,353, ,260,272,250, ,380,373,351, ,1772,1748,1693,1697

4 สถานการณ์วัณโรคเขต 8 อัตราการรักษาสำเร็จ น้อยกว่าเป้าหมาย 85% %
693,643,644, ,111,99, ,370,353, ,259,272, ,380,373, ,1759,1724,1676

5 ผลการรักษาวัณโรคเขต 12 : รพศ./รพท. ผู้ป่วยรายใหม่เสมหะพบเชื้อปี 2549
ผลการรักษาวัณโรคเขต 12 : รพศ./รพท. ผู้ป่วยรายใหม่เสมหะพบเชื้อปี 2549 %

6 ผลการรักษาวัณโรคเขต 8: รพศ./รพท. ผู้ป่วยรายใหม่เสมหะพบเชื้อปี 2551/1
ผลการรักษาวัณโรคเขต 8: รพศ./รพท. ผู้ป่วยรายใหม่เสมหะพบเชื้อปี 2551/1 %

7 ได้รับคำปรึกษาเพื่อตรวจ HIV
% 100% ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม

8 ได้รับการตรวจ HIV 90% ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม
ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม

9 ได้รับ Cotrimoxazole 100%
ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม

10 ได้รับ ARV % 70% ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม

11 ความชุกของวัณโรคดื้อยาหลายขนานในผู้ป่วยรายใหม่ ซึ่งรับบริการ ณ ศูนย์วัณโรคที่ 12 ยะลา

12 ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานในภาคใต้ตอนล่าง 2518-2550 จำนวน 148 ราย
4.7% 2.7% 33.1% 20.3% 20.3% 2.0% 25.0%

13 แผนการดำเนินงานปี 2552 ประเด็นที่ 1 การขึ้นทะเบียน
ประเด็นที่ 2 การรักษา : DOTS การประเมินติดตามการรักษา ประเด็นที่ 3 การให้คำปรึกษาการตรวจHIV ประเด็นที่ 4 การให้ ARV ประเด็นที่ 5 การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ : ผู้สัมผัส ชุมชนแออัด เรือนจำ ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุ ประเด็นที่ 6 การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล ประเด็นที่ 7 การกำกับติดตาม ประเมินผล

14 ประเด็นที่ 1 การขึ้นทะเบียน
ปัญหา : ความครอบคลุมของการขึ้นทะเบียน ความถูกต้องของที่อยู่ผู้ป่วย แนวทาง : ระบบการายงานผลเสมหะบวกที่รัดกุม การจ่ายยาที่ห้องยาตรวจสอบการขึ้นทะเบียนทุกราย การซักประวัติที่อยู่ให้รอบคอบ : ที่อยู่จริง ที่อยู่หลังออกจากรพ. ที่อยู่บืดา มารดา เบอร์โทร ของผู้ป่วย ญาติ เพื่อนสนิท

15 ประเด็นที่ 2 การรักษา : DOTS
ผู้ป่วยอื่น ๆ นัดแบบปกติ : 2 เดือนแรก ทุก 2 อาทิตย์ และทุกเดือนหลังจากนั้นจนครบ ให้มีการโทรตามก่อนวันนัดทุกราย ให้มีทีมเยี่ยมหลังวันนัดหากผู้ป่วยไม่มารับยา

16 ประเด็นที่ 3 การให้คำปรึกษาการตรวจHIV
เป้าหมายให้ได้ 100 %

17 ประเด็นที่ 4 การให้ ARV เมื่อเริ่มรักษา TB ให้เตรียมการเพื่อการให้ยา ARV ทันที หลังการรักษา TB 2 อาทิตย์ หากไม่มีผลข้างเคียงใด ให้เริ่มยา ARV ได้ทันที D4T+ 3TC + EFV มีปัญหาปรึกษาได้

18 ประเด็นที่ 5 การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
ผู้ป่วยในเรือนจำ : รพ.นราธิวาสราชนครินทร์ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยสูงอายุ

19 ประเด็นที่ 6 การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ระบบการแยกผู้ป่วยที่ OPD ผู้ป่วยไอเรื้อรังเกิน 2 อาทิตย์ การใส่mask ให้ผู้ป่วย การแยกผู้ป่วยใน : ห้องแยกกรณี เสมหะบวก การให้ความรู้ในบุคลากร

20 ประเด็นที่ 7 การกำกับติดตาม ประเมินผล
แบบกำกับติดตามการดำเนินงาน สรุปรายงานที่ประชุม คปสจ. ทุกเดือน

21 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนรักษา ในเดือนตุลาคม 2551
รพ. ตรวจ AFB. ขึ้นทะเบียน พบเชื้อ ตรวจHIV นราธิวาส 133 3 สุไหงโกลก 5 1 บาเจาะ รือเสาะ 47   4  0 ศรีสาคร 14 2 ระแงะ 32 ตากใบ 15 สุไหงปาดี 8 4 แว้ง สุคิริน เจาะไอร้อง จะแนะ 20

22 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคในทะเบียนที่มารับยา ประจำเดือนตุลาคม 2551
รพ. นัดระยะเข้ม รับยาระยะเข้ม นัดระยะต่อเนื่อง รับยาระยะต่อเนื่อง นราธิวาส 3 สุไหงโกลก 7 2 บาเจาะ รือเสาะ  10  13  11 ศรีสาคร 10 ระแงะ ตากใบ 5 11 สุไหงปาดี 9 แว้ง สุคิริน เจาะไอร้อง จะแนะ 1


ดาวน์โหลด ppt แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google