ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRonnapee Paithoonbuathong ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์ข้าวของโลก สต็อกต้นปีข้าวโลก 75.69 ล้านตัน
ผลผลิตข้าวโลก ล้านตัน การบริโภคข้าวโลก ล้านตัน การคาดการณ์สถานการณ์ข้าวโลกของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ● ผลผลิตข้าวโลก ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วที่มีปริมาณ ล้านตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.79 ประเทศที่มีผลผลิตข้าวเพิ่มได้แก่ บราซิล อินเดีย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ เป็นต้น ● ความต้องการบริโภคข้าวโลก ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วที่มีปริมาณ ล้านตัน หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 ประเทศที่มีการบริโภคข้าวเพิ่มขึ้นได้แก่ บราซิล จีน อินเดียและเวียดนาม ● เนื่องจากการบริโภคข้าวมีปริมาณมากกว่าผลผลิตข้าว ทำให้สต็อกข้าวโลกลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2545/46 และมีปริมาณเหลือเพียง ล้านตัน ● การค้าข้าวโลก ล้านตัน ลดลงจากปีที่แล้วที่ปริมาณ ล้านตัน หรือลดลงร้อยละ 9.97 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตและส่งออกข้าวที่สำคัญ เช่น อินเดีย เวียดนามและปากีสถานได้ กำหนดมาตรการส่งออกและห้ามส่งออกข้าว การค้าโลก ล้านตัน สต็อกปลายปีข้าวโลก ล้านตัน
2
ปัจจัยที่ทำให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้น
การควบคุมและห้ามส่งออกข้าวของประเทศผู้ส่งออก การหันไปปลูกพืชพลังงาน (Biofuel) ทดแทนการปลูกข้าว ประชากรโลกเพิ่มขึ้น/การบริโภคข้าวเพิ่มขึ้น เกิดภาวะต้องการเทียมจากการตื่นตระหนก ปัจจัยที่ทำให้ราคาข้าวโลกปรับตัวสูงขึ้น ผู้ผลิตและส่งออกข้าวที่สำคัญของโลก เช่น อินเดีย เวียดนามและอียิปต์ กำหนดมาตรการ ควบคุมและห้ามการส่งออกข้าว การหันไปปลูกพืชพลังงานทดแทนการปลูกข้าวเนื่องจากราคาน้ำมันสูงขึ้น ทำให้ผลผลิตข้าว ลดลง - ประชากรโลกมีปริมาณมากขึ้นทำให้ความต้องการบริโภคข้าวเพิ่มขึ้นอย่างต่องเนื่องส่งผลให้ สต็อกข้าวโลกลดต่ำลงในช่วงหลายปีที่ผ่านมา - เกิดภาวะความต้องการเทียม (Artificial Demand) จากการตื่นตระหนก (Panic) เกี่ยวกับ ความมั่นคงด้านอาหาร รวมทั้งมีการเก็งกำไรในราคาข้าว - ภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) ส่งผลให้เกิดภัยธรรมชาติในหลายประเทศและ ทำให้ผลผลิตข้าวเสียหาย ภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change)
3
ประเทศผู้ส่งออกข้าวที่สำคัญของโลก ปี 2551 ปริมาณส่งออก (ล้านตัน)
(ม.ค.-พ.ค. 2551) ลำดับ ประเทศ ปริมาณส่งออก (ล้านตัน) ส่วนแบ่งตลาด (%) เปลี่ยนแปลง 1 ไทย 5.02 37.43 50.07 2 อินเดีย 1.915 14.28 -16.92 3 เวียดนาม 1.826 13.62 2.64 4 ปากีสถาน 1.663 12.40 19.38 5 สหรัฐอเมริกา 1.588 11.84 15.83 6 อื่นๆ 1.4 10.44 102.90 ไทยยังเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลกในปีนี้ ประเทศไทยตระหนักดีถึงวิกฤตการณ์อาหารโลกซึ่งทำให้ราคาสินค้าอาหารรวมทั้ง ข้าวมีราคาสูงขึ้นและสร้างความเดือดร้อนให้กับประเทศต่างๆทั่วโลก โดยเฉพาะ ประเทศในทวีปแอฟริกา อีกทั้งหลายประเทศประสบปัญหาการผลิตและขาดแคลน ข้าวบริโภคอย่างรุนแรง รัฐบาลไทยไม่มีนโยบายควบคุมหรือห้ามส่งออกข้าว การส่งออกข้าวของไทยยังเป็นไปตามปกติ - สัดส่วนการส่งออกข้าวของไทยจะอยู่ที่ร้อยละ ของการค้าข้าวโลกทั้งหมด แหล่งข้อมูล: Rice Trader
4
CURRENT SITUATION ON RICE TRADE
(Exporting Countries) Unit : Million Metric Tons China : Increase of Export Tax 5% Egypt : Extend export Ban till 31 April 2009 Pakistan : Set the MEP for various kinds of rice Vietnam : 1. Ban new rice contracts by exporters until June 2008 2. Require stocks of 50% of a quantity of rice in each contract สถานการณ์ประเทศผู้ส่งออกข้าว อินเดีย - ปรับลดเป้าหมายการส่งออกข้าวเหลือ 2 ล้านตัน จากเดิม 3-4 ล้านตัน - ระงับการส่งออกข้าว Non-Basmati - กำหนดราคาส่งออกขั้นต่ำ (MEP) สำหรับข้าว BASMATI US$1,000 และเก็บภาษีส่งออกข้าว BASMATI ตัน 8,000 รูปี (US$200 ต่อตัน) - อาจผ่อนปรนมาตรการจำกัดการส่งออกในไม่ช้า จีน - เก็บภาษีส่งออกข้าวร้อยละ 5 เวียดนาม - ระงับการทำสัญญาซื้อขายข้าวใหม่ของผู้ส่งออกจนถึงเดือนมิถุนายน 2551 - ออกระเบียบการส่งออกข้าวฉบับใหม่โดยให้ผู้ส่งออกสำรองข้าวไว้ในสต็อกก่อนลงนามสัญญาซื้อขาย ข้าวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5 0 ของปริมาณการส่งมอบตามสัญญา - อาจอนุญาตให้ส่งออกอีกครั้งในเดือนกรกฎาคม 2551 ซแต่อาจมีมาตรการเก็บภาษีส่งออกที่ตันละประมาณ US$ / ตัน อียิปต์ - ได้ขยายระยะเวลาห้ามการส่งออกข้าว จากสิ้นสุดในวันที่ 1 ต.ค. 51 เป็น 1 เม.ย. 52 ปากีสถาน - กำหนดราคาส่งออกขั้นต่ำ (MEP) ได้แก่ ข้าวเมล็ดยาว US$750/ตัน ข้าว BASMATI US$1,300/ตัน, ข้าว BASMATI ชั้นเลิศ US$1,500/ตัน India : Export Ban (Non-basmati) MEP for BASMATI = US$1,000/ton Export Tax = 200 USD/ton
5
CURRENT SITUATION ON RICE TRADE
(Importing Country) Unit : Million Metric Tons Iraq : 1.1 Iran: 0.9 EU 27 : 1.1 Japan : 0.7 China: 0.6 USA : 0.7 Nigeria: 1.5 Saudi Arabia : 0.7 Philippines :2.1 สถานการณ์ประเทศผู้นำเข้าข้าว รัฐบาลหลายประเทศได้เดินทางมาเจรจาขอซื้อข้าวจากไทยแล้ว ได้แก่ ติมอร์เลสเต้ 45,000 ตัน ศรีลังกา 50,000 ตัน แกมเบีย 120,000 ตัน และมาเลเซีย 500,000 ตัน ฟิลิปปินส์ (2.1 ล้านตัน) ฟิลิปปินส์ได้เปิดประมูลนำเข้าข้าวสำหรับปี 2551 รวม 5 ครั้ง ปริมาณ ล้านตัน แต่สามารถ ประมูลซื้อข้าวได้เพียงประมาณ 1.7 ล้านตัน จึงยังมีความจำเป็นที่จะต้องการนำเข้าข้าวอีก 0.4 ล้านตัน อิหร่าน (0.9 ล้านตัน) อนุญาตให้เอกชนดำเนินการซื้อขายข้าวได้เอง ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2551 และลดภาษีนำเข้าข้าวทุกชนิด จากร้อยละ 150 เหลือร้อยละ 4 อิรัก (1.1 ล้านตัน) อนุญาตให้ภาคเอกชนนำเข้าข้าวและข้าวสาลี ไนจีเรีย (1.5 ล้านตัน) ได้ยกเลิกภาษีนำเข้าข้าว (109%) เพื่อจูงใจให้นำเข้าข้าวเพิ่มขึ้น คาดว่าการลักลอบนำเข้าข้าวไทยผ่าน เบนินจะลดลง และจะนำเข้าข้าวจากไทยในเร็วๆ นี้ ซาอุดิอาระเบีย (1.02 ล้านตัน) อุดหนุนการนำเข้าข้าวตันละ US$ 250 Senegal : 0.7 Bangladesh : 1.0 Malaysia : 0.5 Gambia : 0.12 Indonesia : 0.5 Sri Lanka : 0.05 S.Africa : 0.9
6
ราคาข้าวตลาดโลก ราคาข้าวโลกได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เดือนพ.ย. 50 โดยเฉพาะในเดือนเมษายน (ดูจากกราฟ) มีอัตราการเพิ่มสูงที่สุด จนถึงในช่วงปลายเดือนพ.ค. 51 ราคาข้าวในตลาดโลกได้ลดลง เนื่องจากมี แนวโน้มผลผลิตข้าวในประเทศผู้ส่งออกที่สำคัญ เช่น เวียดนามและไทย มีปริมาณสูงกว่าผลผลิต ในปีที่แล้ว ประเทศผู้นำเข้าได้ชะลอการสั่งซื้อข้าวจึงทำให้ภาวการณ์ตึงตัวของตลาดข้าวโลกได้ ผ่อนคลายลง ราคาข้าวของสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 20 มิ.ย. 51 ราคาข้าวสหรัฐฯ ตันละ 875 เหรียญสหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ จาก ตันละ 485 เหรียญสหรัฐฯ ในเดือนพ.ย. 50 ราคาข้าวของเวียดนาม ในวันที่ 9 มิ.ย. 51 ราคาข้าวเวียดนาม ตันละ 950 เหรียญสหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 150 จาก ตันละ 380 เหรียญสหรัฐฯ ในเดือนพ.ย. 50
7
ราคาข้าวส่งออกของไทย
ราคาข้าวส่งออกของไทยได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นไปในทิศทางเดียวกับราคาข้าวในตลาดโลก โดยพุ่งสูงสุดในช่วง กลางเดือนพฤษภาคม 2551 โดยราคาเฉลี่ยสูงถึง 1,080 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน อย่างไรก็ตามราคาได้ ปรับตัวลดลงในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม 2551 จนถึงขณะนี้ ทำให้ราคาข้าวเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10-15 ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 2 ● ในวันที่ 18 มิ.ย. 51 เพิ่มขึ้นเป็นตันละ 1,081 เหรียญสหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 81.60 เพิ่มขึ้นจากตันละ เหรียญสหรัฐฯ ในเดือน พ.ย. 50 ข้าวขาว 100% ชั้น 2 ● ในวันที่ 18 มิ.ย. 51 เพิ่มขึ้นเป็นตันละ 872 เหรียญสหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ เพิ่มขึ้นจากตันละ เหรียญสหรัฐฯ ในเดือน พ.ย. 50 ข้าวขาว 5% ● ในวันที่ 18 มิ.ย. 51 เพิ่มขึ้นเป็นตันละ 856 เหรียญสหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ เพิ่มขึ้นจากตันละ เหรียญสหรัฐฯ ในเดือน พ.ย. 50 ข้าวนึ่ง 100% ชั้น 2 ● ในวันที่ 18 มิ.ย. 51 เพิ่มขึ้นเป็นตันละ 939 เหรียญสหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ เพิ่มขึ้นจากตันละ เหรียญสหรัฐฯ ในเดือน พ.ย. 50
8
ผลผลิตรวมปี 2550/51 30.93 ล้านตันข้าวเปลือก 20.4 ล้านตันข้าวสาร
ผลผลิตข้าวของไทยปี 2550/51 นาปรัง 2551 7.62 ล้านตันข้าวเปลือก 5.03 ล้านตันข้าวสาร นาปี 2550/51 23.31 ล้านตันข้าวเปลือก 15.39 ล้านตันข้าวสาร ผลผลิตรวมปี 2550/51 30.93 ล้านตันข้าวเปลือก 20.4 ล้านตันข้าวสาร ผลผลิตข้าวในปี 2550/51 คาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น ผลผลิตข้าวของไทยในปีนี้ (2550/51) จะมีปริมาณประมาณ ล้านตันข้าวเปลือกหรือประมาณ 20.4 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 4.34
9
ปริมาณการส่งออกข้าว ม.ค. – พ.ค. 2551 ม.ค. – เม.ย. 2550 เปลี่ยนแปลง
ปริมาณ (ล้านตัน) 5.02 3.35 เพิ่มขึ้น 50.08% มูลค่า (mil. $US) 2,644 1,240 เพิ่มขึ้น % มูลค่า (ล้านบาท) 84,976 43,750 เพิ่มขึ้น 94.23% 1-17 มิ.ย. 2551 1-17 มิ.ย. 2550 เปลี่ยนแปลง ปริมาณ (ล้านตัน) 0.528 0.416 เพิ่มขึ้น 26.84% มูลค่า (mil. $US) 450 153 เพิ่มขึ้น % มูลค่า (ล้านบาท) 14,303 5,269 เพิ่มขึ้น % ปริมาณการส่งออกข้าวของไทย ● ตั้งแต่ ม.ค. – พ.ค.51 ส่งออก 5.02 ล้านตัน มูลค่า 2,644 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 84,976 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีปริมาณ 3.35 ล้านตัน มูลค่า 1,240 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 43,750 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ และ 94.23 ของปริมาณและมูลค่าตามลำดับ ● ในวันที่ มิ.ย. 51 ส่งออก 527,946 ตัน มูลค่า 450 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 14,303 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีปริมาณ 416,246 ตัน มูลค่า 153 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 5,269 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ และ ของปริมาณและมูลค่าตามลำดับ
10
8.75 ล้านตัน 9-10 ล้านตัน เป้าหมายการส่งออก
กรมการค้าต่างประเทศติดตามสถานการณ์ข้าวอย่างใกล้ชิด ● ในปี 2551 รัฐบาลไทยได้ตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวปริมาณ 9 ล้านตัน มูลค่า 5,490 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ หรืออาจปรับเพิ่มขึ้นได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับผลผลิตของข้าวนาปรังที่จะออกสู่ตลาดในช่วงเดือน มิถุนายน-กันยายน ● ใช้วิธีการบริหารจัดการภายในโดยระบบการออกหนังสืออนุญาตเพื่อเป็นกลไกในการควบคุมดูแลให้ การส่งออกเป็นไปตามเป้าหมาย ให้เกิดการสมดุลและไม่กระทบกับการบริโภคภายในเพื่อเป็นการ แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือในการแก้ปัญหา Food Crisis และศักยภาพของผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่ที่สุด ในโลกของไทย ผลผลิตข้าวนาปรังออกสู่ตลาด จำนวน 2 ครั้ง เดือนเม.ย.และก.ย.2551 ส่งออก บริโภค สร้างสมดุล
11
ปัญหาด้านราคาและต้นทุนการผลิตข้าว
ราคาข้าวตลาดโลกได้ปรับตัวลดลง ต้นทุนการผลิตข้าวเพิ่มขึ้น ปัญหาด้านราคาและต้นทุนการผลิตข้าว ราคาข้าวตลาดโลกในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม 2551 ได้ปรับตัวลดลง เนื่องจาก - ไทยและเวียดนามได้เริ่มเก็บเกี่ยวข้าวและออกสู่ตลาดในเดือนพฤษภาคม รวมทั้งเวียดนามจะอนุญาตให้ผู้ส่งออก รับคำสั่งซื้อใหม่ในเดือนกรกฏาคม 2551 - ญี่ปุ่นประกาศนำข้าวที่นำเข้าภายใต้ WTO ช่วยเหลือประเทศที่ประสบภาวะขาดแคลนข้าว - อินเดียอาจจะยกเลิกการใช้มาตรการจำกัดการส่งออกข้าว ต้นทุนการผลิตข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช น้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่นและ อุปกรณ์การเกษตร ทำให้เกษตรกรชาวนาไทยต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายมากขึ้น เกษตรกรได้เรียกร้องให้รัฐบาลรับจำนำข้าวเพื่อแก้ไขปัญหาราคาข้าวที่เริ่มลดลงในขณะที่ต้นทุนการผลิตข้าวยังเพิ่ม สูงขึ้นจนทำให้รัฐบาลประกาศเปิดรับจำนำข้าวเปลือกนาปรังตันละ 14,000 บาท เริ่มตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน 2551 เกษตรกรได้เรียกร้องให้รัฐบาลรับจำนำข้าว
12
มาตรการรองรับในการแก้ไขปัญหา
จัดทำข้าวถุงในราคาถูกจำหน่ายให้ประชาชน ดำเนินการโครงการรับจำนำข้าวนาปรัง ขยายตลาดการส่งออกข้าวเชิงรุก ใช้วิธีการบริหารจัดการภายในเพื่อควบคุมการส่งออก มาตรการรองรับในการแก้ไขปัญหา ในช่วงเดือนมี.ค.-พ.ค. 51 ข้าวในประเทศมีราคาแพงขึ้น รัฐบาลจึงได้จัดทำข้าวถุงธงฟ้ามหาชน (ตาม มติครม. ลงวันที่ 28 เม.ย. 51) จำนวน 300,000 ถุง ในราคาถุงละ 120 บาท เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่มี รายได้น้อย เพื่อช่วยเหลือเกษตรที่ได้รับความเดือดร้อนจากราคาข้าวที่ลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อปลายเดือนพ.ค. 51 รัฐบาลได้มีมติเมื่อวันที่ 10 มิ.ย ให้ธกส. ดำเนินการโครงการรับจำนำข้าว โดยกำหนดให้รับซื้อข้าวเปลือก เจ้าความชื้นไม่เกิน 15% ที่ราคา 14,000 บาทต่อตัน และข้าวเปลือกเหนียวที่ราคา 9,000 บาทต่อตัน ขยายตลาดส่งออกข้าวเชิงรุกเพื่อรองรับข้าวตามโครงการรับจำนำของรัฐบาลในช่วงฤดูการผลิตนาปรัง ปริมาณ 2.5 ล้านตัน ระหว่างเดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2551 เพื่อให้มีคำสั่งซื้อต่อเนื่องไปจนถึงสิ้นปี ทั้งตลาดนำเข้าที่เป็นตลาดเก่าและตลาดใหม่ รวมทั้งการเจรจาขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เร่งรัดการพัฒนาพันธุ์/เพิ่มผลผลิตต่อไร่/ลดต้นทุนการผลิตและผลักดัน การกำหนด Zoning พื้นที่การเพาะปลูกข้าวให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (Marketing) ใช้วิธีการบริหารจัดการภายในโดยระบบการออกหนังสืออนุญาตเพื่อเป็นกลไกในการควบคุมดูแลให้การส่งออก เป็นไปตามเป้าหมาย ให้เกิดการสมดุลและไม่กระทบกับการบริโภคภายในเพื่อเป็นการแสดงให้เห็นถึงความ ร่วมมือในการแก้ปัญหา Food Crisis และศักยภาพของผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่ที่สุดในโลกของไทย เพิ่มผลผลิตต่อไร่/ผลักดันการกำหนด Zoning
13
กลยุทธ์ในการเพิ่มความสามารถการแข่งขันเพื่อการส่งออกข้าว
PRODUCT COSTS พัฒนาการแปรรูปข้าวให้มีมูลค่าสูง การใช้ปัจจัยการผลิตข้าวที่เหมาะสม พัฒนาระบบมาตรฐานและการรับรอง การผลิตข้าวเพื่อตลาดจำเพาะ (Niche Market) พัฒนาโครงสร้างการผลิต LOGISTICS PROMOTION การพัฒนาข้าวและผลิตภัณฑ์ แปรรูปข้าวให้มีความหลากหลายและมีมูลค่าสูง เช่น ข้าวกล้องงอก (Gaba Rice) และผลิตภัณฑ์จากน้ำมันรำข้าว พัฒนาระบบมาตรฐานและการรับรองให้ได้มาตรฐานสากล การเจาะตลาดจำเพาะ (Niche Market) ได้แก่ ข้าวอินทรีย์ ข้าวกล้องอนามัย และพัฒนารูปแบบข้าวผลิตภัณฑ์ แปรรูปสารสกัดจากข้าว การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว กำหนดเขตพื้นที่การปลูกข้าวให้เหมาะสม เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนไปสู่การจัดแบ่งเป็นพื้นที่เพื่อการส่งออกและ ใช้ภายในประเทศ ลดต้นทุนการผลิตข้าวโดยการใช้ปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมและใช้วัสดุจากธรรมชาติ พัฒนาระบบชลประทานและการจัดรูปที่ดินในเขตส่งเสริมการผลิตข้าว การพัฒนาระบบขนส่งและการจัดเก็บ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการด้านการบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการ การสร้างคลังสินค้าและไซโลที่สามารถรักษาคุณภาพข้าวได้อย่างมีมาตรฐานสูง ให้สอดรับกับปริมาณผลผลิตและ ความต้องการ ปรับปรุงระบบการขนส่งโดยเฉพาะระบบการขนส่งทางน้ำและระบบรางที่เชื่อมต่อกันได้ในเชิงประหยัด การประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ การสร้างภาพลักษณ์สินค้าข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าวไทย เผยแพร่ประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ทางโภชนาการและปลอดการตัดแต่งพันธุกรรม (Non GMOs) พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละตลาด การส่งออกข้าวรัฐต่อรัฐในตลาดที่เอกชนไม่สามารถเข้าถึง ลดต้นทุนการขนส่ง การสร้างภาพลักษณ์สินค้าข้าว จัดระบบคลังสินค้าและไซโล จัดทำข้อมูลโภชนาการและคุณประโยชน์ การขายข้าวรัฐต่อรัฐในตลาดที่เอกชนไม่สามารถเข้าไปถึง พัฒนาระบบการขนส่ง
14
THANK YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.