งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม
Automatic Air Intake Filter Safety Pressure อากาศเข้า Relief Switch Valve Relief Pressure Valve ช่องเติมน้ำมัน Gauge Open/Shut Valve Motor Check Valve ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม 1 โดย….ทพ.บุญฤทธิ์ สุวรรณโนภาส บริษัทมิดเวสต์เดนตัลกรุ๊ป จำกัด Drain Valve

3 Compressed air in the dental practice

4 ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม
ประกอบด้วย 1. ส่วนให้กำลังในการผลิต อากาศอัด ได้แก่ Motor 2. ส่วนผลิตอากาศอัด (Compressor) 3. ส่วนส่งผ่านกำลัง (Power Transfer) 4. ส่วนที่เก็บอากาศอัด (Air Receiver)

5 3.Power Transfer Motor 1.Motor 2.Compressor 4.Air Receiver

6 1. ส่วนให้กำลังในการผลิต อากาศอัด
เช่น การหมุนของมอเตอร์จะไปทำให้ Compressor ผลิตอากาศอัด

7

8

9 2. ส่วนผลิตอากาศอัด (Compressor)
อากาศเข้า ดูดอากาศเข้า อัดอากาศ ทำงานโดยดูดอากาศเข้า อัดอากาศให้มีปริมาตร เล็กลง และส่งอากาศอัดไปเก็บที่ถังเก็บอากาศอัด

10 2.1 ประเภทของ Compressors
แบ่งออกเป็น 2 แบบ 1. Dynamic Compressors ได้แก่ Ejector, Radial , และ Axial 2. Displacement Compressors ได้แก่ 2.1 Rotary เช่น Rotary Vane, Rotary Screw 2.2 Reciprocating

11 Compressors แบบ Rotary Screw

12

13 Compressors แบบ Rotary Vane

14 Compressors แบบ Reciprocating

15

16

17

18 ลูกสูบ ที่ใช้กับ มอร์เตอร์ความเร็วรอบสูง มอร์เตอร์ความเร็วรอบต่ำ

19 2.2 ชนิดของ Compressors แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ชนิดใช้น้ำมันหล่อลื่น 2. ชนิดไม่ใช้น้ำมันหล่อลื่น

20 ชนิดของ Compressors ชนิดใช้น้ำมันหล่อลื่น ชนิดไม่ใช้น้ำมันหล่อลื่น

21

22

23 3. ส่วนส่งผ่านกำลัง (Power Transfer )
แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ 3.1 ส่งผ่านกำลังโดยตรง ( Direct Drive ) 3.2 ส่งผ่านกำลังทางสายพาน ( Belt Drive ) 3.3 ส่งผ่านกำลังทางระบบเกียร์ ( Gear Block Drive )

24 3.1 ส่งผ่านกำลังโดยตรง ( Direct Drive )

25 3.2 ส่งผ่านกำลังทางสายพาน ( Belt Drive )
Motor 3.2 ส่งผ่านกำลังทางสายพาน ( Belt Drive )

26 3.3 ส่งผ่านกำลังทางระบบเกียร์
( Gear Block Drive )

27

28 4. Air Receiver ประกอบด้วย 4.1 Air-Tank 4.2 Automatic Pressure Switch
4.3 Air Pressure Gauge 4.4 Safety Relief Valve

29 4.1 Automatic Pressure Switch
คือ อุปกรณ์ตัดกระแสไฟฟ้าที่จะไปสู่ ตัวมอเตอร์ โดยอาศัย ความดันของอากาศอัดในถังเก็บ เป็นตัวควบคุม

30 คือ ค่าความดันอากาศอัด ที่ทำให้ Automatic Pressure
1. Air Pressure Cut-Out คือ ค่าความดันอากาศอัด ที่ทำให้ Automatic Pressure Switch ตัดกระแสไฟฟ้า ไม่ให้เข้าสู่ มอเตอร์ (จากมอเตอร์ทำงานเป็นไม่ทำงาน )

31 2. Air Pressure Cut-In คือ ค่าความดันอากาศอัด ที่ Automatic Pressure Switch ให้กระแสไฟฟ้าเข้าสู่ มอเตอร์ (จากมอเตอร์ไม่ทำงานเป็นทำงาน)

32 ประเภทของ Automatic Pressure Switch
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ช่วงความดันระหว่าง Air Pressure Cut-In และ Air Pressure Cut-Out ต่างกัน 2 Bars 2. ช่วงความดันระหว่าง Air Pressure Cut-In และ Air Pressure Cut-Out สามารถปรับให้ต่างกันมากกว่า 2 Bars

33 4.2 Air Pressure Gauge คือ อุปกรณ์แสดงค่าความดันของอากาศอัดภายในถังเก็บ

34 4.3 Safety Relief Valve คืออุปกรณ์ระบายความดันอากาศอัดออกจากถังเก็บ เมื่อความดันภายในถังมากเกินปกติจนอยู่ในระดับอันตราย

35 4.4 ถังเก็บอากาศอัด Shut and Open Valve Drain Valve
เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บอากาศอัดที่ผลิตจาก Compressor ประกอบด้วย 1. Shut and Open Valve เป็นวาล์วที่เปิดหรือปิดให้ อากาศอัดออกจากถัง เพื่อนำมาใช้งาน

36 2. Air Tank คือตัวถังที่ใช้เก็บอากาศอัด ภายในตัว
ถังนอกจากอากาศอัด ยังมีน้ำ หรือน้ำผสมน้ำมัน ที่ถูก ควบแน่นอันเนื่องจากความดันภายในถัง การที่จะมีน้ำหรือ น้ำผสมน้ำมันขึ้นอยู่กับชนิดของ Compressor ที่ใช้ 3. Drain Valve เป็นวาล์วสำหรับปล่อย อากาศอัด น้ำ หรือน้ำผสมน้ำมัน ออกจากถังเก็บอากาศอัด

37

38

39

40

41

42

43 ประเภทของ ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม
มีอยู่ 2 ประเภท คือ 1. ประเภทรวมส่วน - ใช้ผลิตอากาศอัดให้กับยูนิตทำฟันจำนวนตั้งแต่ ชุด 2. ประเภทแยกส่วน - ใช้ผลิตอากาศอัดให้กับยูนิตทำฟันจำนวนมากกว่า 5 ชุด

44 1. ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม
อากาศเข้า Motor 1. ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม แบบรวมส่วน

45 2. ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม แบบแยกส่วน
อากาศเข้า 2. ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม แบบแยกส่วน

46 มาตรฐาน ระบบผลิตอากาศอัด ของยูนิตทำฟัน 1 ชุด
มาตรฐาน ระบบผลิตอากาศอัด ของยูนิตทำฟัน 1 ชุด

47 อัตราการผลิตอากาศอัดที่ 5 Bars ( ลิตร/นาที )
จำนวนรอบการหมุนของMotor (รอบ/นาที, r.p.m.) 3. ขนาดความจุของถังเก็บอากาศอัด ( ลิตร )

48 ในกรณีที่เป็น Air Suction
1. อัตราการผลิตอากาศอัดที่ 5 Bars - ไม่น้อยกว่า 124 ลิตร/นาที (Air Suction = 4 Bars) - ไม่น้อยกว่า 222 ลิตร/นาที (Air Suction = 5 Bars) 2. จำนวนรอบการหมุนของMotor - ไม่เกิน 1500 รอบ/นาที ( r.p.m.) 3. ขนาดความจุของถังเก็บอากาศอัด - ไม่น้อยกว่า 48 ลิตร (Air Suction = 4 Bars) - ไม่น้อยกว่า 84 ลิตร (Air Suction = 5 Bars)

49 ในกรณีที่เป็น Motor Suction
1. อัตราการผลิตอากาศอัดที่ 5 Bars - ไม่น้อยกว่า ลิตร/นาที 2. จำนวนรอบการหมุนของMotor - ไม่เกิน รอบ/นาที ( r.p.m.) 3. ขนาดความจุของถังเก็บอากาศอัด - ไม่น้อยกว่า 21 ลิตร

50


ดาวน์โหลด ppt ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google