งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารจัดการสุขภาพ ปี 2557 โดย นายแพทย์วรงค์ รุ่งเรือง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

2 Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
1. ระบบบริการที่พร้อมทำ บริการ , มาตรการ , มาตรฐาน , ครอบคลุม , เข้าถึง , เท่าเทียม ตอบสนองความต้องการ และมีประสิทธิภาพ 2. คุ้มครองความเสี่ยงด้านการเงินจากบริการสุขภาพ 3. พฤติกรรมเสี่ยง , ปัจจัยเสี่ยง , สิ่งแวดล้อมเสี่ยง ลดลง

3 แนวทางการบริหารจัดการสุขภาพ ปี 57
Input Process Output Outcome Impact นโยบาย กระทรวงสาธารณสุข นโยบายเขต นโยบายจังหวัด ปัจจัยภายนอก กระบวนการจัดการ 6 Building Block 6 component system government 6 Key function PDCA Cycle PESTEL , SWOT , 7’S ทฤษฎีการนำองค์กรที่เกี่ยวข้อง

4 6 Building Block 1. การส่งมอบบริการ 2. กำลังคน 3. ระบบข้อมูล
4. เวชภัณฑ์ , เครื่องมือ , เทคโนโลยี 5. การเงินการคลัง 6. Leadership & governance (การนำองค์การบริหารจัดการ)

5 การบริหารจัดการ (Governance)
- มองภาพรวม - ออกแบบระบบ - ชี้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ - มาตรการกำกับงาน - ประสานเครือข่าย - รับผิดชอบต่อสาธารณะ

6 6 Key function - Surveillance - Monitor and Evaluation (M&E)
- Research and Development (R&D) - People Protection - Health system support - Funder Alliance

7 ขั้นตอนการประยุกต์ใช้
1. กำหนดเจ้าภาพในการขับเคลื่อนระบบ ผู้บริหาร ผชช.ว. จบส. ผชช.ส. ฝ่ายที่รับผิดชอบ งานพัฒนาคุณภาพ , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล , งานทรัพยากรบุคคล , งานนิติการ งานพัฒนายุทธศาสตร์ งานคุ้มครองผู้บริโภค งานประกันสุขภาพ , งานบริหาร , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ ระบบบริการ กำลังคน ข้อมูล เวชภัณฑ์ฯ การเงินการคลัง

8 2. กำหนดลักษณะงานให้มีความสอดคล้องกับบทบาทของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
งานบริการ - งานส่งเสริมสุขภาพ , งาน NCD , งานควบคุมโรค , งานทันตสาธารณสุข , งานแพทย์แผนไทยฯ งานพัฒนาคุณภาพ , มาตรฐานบริการ - งานพัฒนาคุณภาพบริการ , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ , งานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ , งานคุ้มครองผู้บริโภค , งานรักษาพยาบาล งานพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ - งานสุขศึกษา , สุขภาพภาคประชาชน , งานคุ้มครองผู้บริโภค , งานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ งานสนับสนุนระบบ - งานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ , งานบริหาร , งานประกันสุขภาพ , งานนิติการ , งานทรัพยากรบุคคล , งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ

9 3. กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
เช่น กลุ่มวัย , กลุ่มป่วย , กลุ่มเสี่ยง , กลุ่มปกติ , เครือข่ายประชาชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ระดับจังหวัด , ระดับอำเภอ , ระดับตำบล)

10 4. สร้างระบบงานที่เน้นความเป็นเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน เน้นความเชื่อมโยง
เจ้าของงาน (PPM1) (Project manager จังหวัด) DPM1 (Project manager อำเภอ) ผู้ปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ ผชช. หน.ฝ่าย DPM2 PPM2 PPM3 DPM3 ผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สสอ. , ผอ.รพ. เป็นการบริหารจัดการที่ระบบตั้งแต่ ทำแผน , จัดงบประมาณ , ควบคุมกำกับติดตาม และประเมินผล (One person , One project , One Budget)

11 5. กำหนดกิจกรรมในแต่ละสายการทำงานให้มีความต่อเนื่องจนถึงกลุ่มเป้าหมาย
จากนั้น กำหนดบทบาทให้ชัดว่าใครรับผิดชอบ (4 W 1 H) หมายเหตุ - บางสายการทำงานอาจยุติเพียงระดับ สสอ. หรือ รพ. ก็ได้ (ขึ้นกับลักษณะกิจกรรม) - ในบางกิจกรรมที่ไม่ใช่ปัญหาของ รพ.สต. หรือสิ่งที่ รพ.สต. ไม่มีความจำเป็น ก็อาจยุติเพียงระดับ สสอ. , รพ. เช่นกัน

12 6. จุดเน้น 1. ถ้า เขต.ฯ มานิเทศจังหวัดควรเน้นในเรื่องกระบวนการทำงาน ,
การควบคุมกำกับก่อนแล้วจึงตามด้วยผลงานตามตัวชี้วัด 2. ระดับจังหวัดเน้นการ Monitoring (ควบคุมกำกับ) เป็นหลัก , การนิเทศติดตามถือเป็นเรื่องรอง

13 7. ในระยะเปลี่ยนผ่านนี้ขอให้เน้น งานที่เป็นนโยบาย กระทรวง , เขตฯ ก่อน
(โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดทุกตัว)

14 สรุปแนวทางเป็นแผนภูมิ (การนำและการอภิบาลระบบ)
Input Impact นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงสาธารณสุข นโยบายเขตฯ นโยบายจังหวัด ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้อง การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุข (6 Building Block) Tool อื่นๆ (ตามหน้า2) สายงาน 1 สายงาน 2 สายงาน... Output Outcome Leadership and governance (การนำและการอภิบาลระบบ) นพ.สสจ.

15 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google