ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYaowaman Srichure ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี นางสาวนัฎฐพร สงวนหงษ์ โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี (IRPC INSTITUTE OF TECHNOLOGY) โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี
2
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้ แบบสร้างสถานการณ์ จำลอง นักศึกษา อาชีวศึกษาระดับปวส. สาขาบัญชี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การจัดการ เรียนรู้ของนักศึกษาระดับปวส. แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง กับนักศึกษาที่เรียน จากการสอนแบบปกติ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจด้วยการจัดการ เรียนรู้แบบ สร้างสถานการณ์จำลอง The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
3
ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปวส.( ม.6) สาขาบัญชี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี จำนวน 14 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปวส. ( ม.6) สาขาบัญชีที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 ได้จากการจัดกลุ่มแบบเจาะจง เลือก โดยใช้ห้องที่ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้ทำการ สอนในรายวิชา การบัญชีเบื้องต้น โดยกลุ่มทดลอง คือนักศึกษาระดับ ปวส. ( ม.6) สาขาบัญชี จำนวน 7 คน และกลุ่มควบคุมคือนักศึกษาระดับ ปวส. ( ม.6) สาขาบัญชี จำนวน 7 คน The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
4
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ค้นคว้า 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบสถานการณ์ จำลอง 2. แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การจัดการ เรียนการสอน - หาประสิทธิภาพของแบบทดสอบ ได้แก่ ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
5
ผลการวิจัย 1. ค่าสถิติพื้นฐานค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ คะแนนทดสอบหลังเรียน สร้างสถานการณ์ จำลอง ปกติ รวม x S. x S.D x S.D คะแนนทดสอบหลังเรียน 18.78 2.41 15.78 2.99 17.28 3.08 แสดงว่านักศึกษาที่เรียนแบบสร้างสถานการณ์ จำลองมีคะแนนเฉลี่ย 18.78 และนักศึกษาที่เรียนแบบปกติ 15.78 เมื่อพิจารณาภาพรวม พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนของ ผู้เรียน 17.28 The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
6
2. ผลการทดสอบความแตกต่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ สร้างสถานการณ์จำลองกับแบบปกติ คะแนนทดสอบ Mean SD Std.Error 95% Confidence t df Sig. หลังเรียน Mean Interval of the dif. (2-tailed) สร้างสถานการณ์จำลอง 18.78 2.41 0.55 1.21 4.78 3.40 14 0.00 ปกติ 15.78 2.99 0.68 * ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการทดสอบการเรียนแบบสร้างสถานการณ์จำลอง สูงกว่าการเรียนแบบปกติ ของนักศึกษา พบว่านักศึกษาที่เรียน แบบสร้างสถานการณ์จำลองมีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยที่นักศึกษาที่เรียน แบบสร้าง สถานการณ์จำลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กว่านักศึกษาที่เรียนแบบปกติ The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
7
3. ผลการทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่างผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแบบสร้างสถานการณ์ จำลองกับแบบปกติ ณ ระดับเกรดเฉลี่ยที่เท่ากัน คะแนนทดสอบ Mean SD Std.Error 95% Confidence t df Sig. หลังเรียน Mean Interval of the dif. (2-tailed) สร้างสถานการณ์จำลอง 18.78 2.41 0.55 2.57 3.42 14.82 14 0.00 ปกติ 15.78 2.99 0.68 ผลการทดสอบพบว่านักศึกษาที่เรียนแบบสร้าง สถานการณ์จำลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า นักศึกษาที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
8
4. ผลการทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่ม ที่เรียนแบบ สร้างสถานการณ์จำลองกับเรียนแบบปกติ คะแนนทดสอบ Mean SD Std.Error 95% Confidence t df Sig. หลังเรียน Mean Interval of the dif. (2-tailed) สร้างสถานการณ์จำลอง 18.78 2.41 0.55 17.62 19.95 33.88 7 0.00 ปกติ 15.78 2.99 0.68 14.34 17.23 23.00 7 0.00 ผลการทดสอบพบว่านักศึกษาที่อยู่ภายในกลุ่มเดียวกันจะมี ระดับคะแนนทดสอบหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ.05 อาจเนื่องมาจากเกรดเฉลี่ยที่แตกต่างกันในกลุ่ม เดียวกัน โดยที่นักศึกษาที่มีเกรดเฉลี่ยสูงจะมีคะแนนทดสอบหลัง เรียนสูงกว่านักศึกษาที่เกรดเฉลี่ยต่ำกว่า The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
9
ระดับคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ การจัดการเรียนการสอนแบบ สร้างสถานการณ์จำลองกับปกติ - การเน้นให้ผู้เรียนเกิดการอยากเรียนรู้แบบ สร้างสถานการณ์จำลองอยู่ในระดับ มาก แต่ การเรียนแบบปกติอยู่ในระดับปานกลาง - นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ทักษะใน การปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม แบบสร้าง สถานการณ์จำลองอยู่ในระดับ มาก แต่การ เรียนแบบปกติอยู่ในระดับปานกลาง The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
10
อภิปรายและสรุปผล 1. การจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาที่ เรียนแบบสร้างสถานการณ์จำลองกับ นักศึกษาที่เรียนแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดย ที่นักศึกษาที่เรียนแบบสร้างสถานการณ์ จำลองมีค่าคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่า นักศึกษาที่เรียนแบบปกติ The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
11
อภิปรายและสรุปผล 2. การที่นักศึกษาที่เรียนแบบสร้าง สถานการณ์จำลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงกว่านักศึกษาที่เรียนแบบปกติ เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนที่ แตกต่างกัน 3. การเรียนแบบสร้างสถานการณ์จำลองมี ความพึงพอใจอยู่ระดับมากซึ่งจัดการเรียน การสอนแบบปกติอยู่ในระดับปานกลาง The result of learning and teaching basic accounting by using students as the center by using role-play. Researching from second year higher vocational certificate.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.