ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร
“ จัดการความรู้ สู่การพัฒนา องค์กรก้าวหน้า ชาติ-ประชาก้าวไกล”
2
การจัดการ KM :กสก พศ. 2550 1 ให้นโยบาย KM 2 ขยายผลสู่ LO
3 KM Extension 4 สนับสนุน KM 5 สร้างBest Practice 6 ใช้ KM กับเวทีExtension 7 มี KPI KM 8 เสริมแรง KM 9 ติดตามผล KM 10 รายงานผลการปฏิบัติงาน KM
3
แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550
ผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการจัดการความรู้ที่หน่วยงานย่อยที่เกี่ยวข้องต้องมีประจักษ์พยาน แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550 ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง/Food Safety ประเด็นความรู้ที่จำเป็น 1. การบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง 2. การส่งเสริมการควบคุมคุณภาพผลิตผลการเกษตร Output การแต่งตั้งคณะทำงาน KM (คำสั่ง) การสร้างสภาพแวดล้อมให้เกิด KS ผ่านช่องทางต่าง ๆ (อย่างน้อย 3 สื่อ/ช่องทาง/วิธีการ) ประชุมระดมความคิดเห็นตรวจสอบองค์ความรู้ที่จำเป็นในการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์ (รายงานองค์ความรู้ที่วิเคราะห์) สำรวจผู้รู้ภายในและภายนอกองค์กร (ทะเบียนผู้รู้ด้านการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์) สำรวจแหล่งข้อมูลความรู้ภายในและภายนอกองค์กร (ทะเบียนแหล่งข้อมูล)
4
แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550 (ต่อ)
ผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการจัดการความรู้ที่หน่วยงานย่อยที่เกี่ยวข้องต้องมีประจักษ์พยาน แสดงเพื่อการวัดผลตามคำรับรองในการปฏิบัติราชการในปี 2550 (ต่อ) 6. ระดับเจ้าหน้าที่จัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์ (จังหวัดถอดองค์ความรู้อย่างน้อย 2 เรื่อง/จังหวัด) 7. ระดับเกษตรกรนำความรู้ที่ได้จากกระบวนการไปปฏิบัติ สำนักงานเกษตรอำเภอ ถอดองค์ความรู้อย่างน้อย 1 เรื่อง/อำเภอ) 8. จังหวัดนำความรู้จากข้อ 6 และ 7 มาจัดระบบหมวดหมู่ กลั่นกรองและพัฒนาปรับปรุง นำเข้าระบบฐานข้อมูลระบบสารสนเทศองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมการเกษตร (อย่างน้อย 1 เรื่อง/จังหวัด) เป็น Best Practices 9. การประมวลกลั่นกรองความรู้ในการบริหารจัดการและพัฒนาศูนย์ (องค์ความรู้ อย่างน้อย 1 เรื่อง/เขต) เป็น Best Practices 10. การจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ DM ระดับอำเภอ เดือนละครั้ง DW ระดับจังหวัด อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง RW ระดับเขตอย่างน้อย 3 ครั้ง (สรุปเรื่องเล่า/สรุปแต่ละครั้ง) 11. ระบบเพื่อนช่วยเพื่อนศูนย์เรียนรู้ที่เป็นตัวอย่างจุดเรียนรู้ภายในจังหวัด (จังหวัดละศูนย์)
5
KM Knowledge What to do… How to work…. KM. Philosophy KM. Function
KM. Application KM. Model KM. Management KM. & Assets & Management KM. Team CKO Function What to do… How to work….
6
ทำโดยไม่รู้ มีความเสี่ยง รู้แล้วไม่ทำ ไร้ความหมาย
KM Philosophy ทำโดยไม่รู้ มีความเสี่ยง รู้แล้วไม่ทำ ไร้ความหมาย ไม่รู้และไม่ทำ ไร้ประโยชน์ รู้แล้วทำ ทำอย่างผู้รู้ KM คือ ทำในสิ่งที่รู้ และไม่รู้ในสิ่งที่ทำ ทุกสรรพสิ่งคือการเรียนรู้ แล้วเรียนรู้ในทุกสรรพสิ่ง
7
ฉะนั้น ความสัตย์ >ความรู้ > ศักดิ์ศรี > ทรัพย์สิน
ปรัชญา ”คนไทย” เสียสิบ สงวนศักดิ์ ไว้ วงศ์หงส์ เสียศักดิ์ศรี สู้ประสงค์ สิ่งรู้ เสียรู้ เร่งดำรง ความสัตย์ไว้นา ฉะนั้น ความสัตย์ >ความรู้ > ศักดิ์ศรี > ทรัพย์สิน
8
ฝูงชน KM ฝูงชน กำเหนิดคล้าย คลึงกัน ใหญ่ย่อม เพศผิวพรรณ แผกบ้าง ความรู้ อาจเรียนทัน กันหมด ผิดแต่ ชั่วดีกระด้าง อ่อนแก้ฤาไหว การจัดการความรู้ เพื่อการพัฒนา เพื่อการเรียนรู้ เพื่อการจัดการความดีงาม
9
KM Model: 4*3 มิติการจัดการ
ผลลัพท์ต่อ การบริหาร การบริหารคน การบริหารงาน การบริหารองค์กร การพัฒนา การพัฒนาคน การพัฒนางาน การพัฒนาองค์กร การเรียนรู้ การเรียนรู้ของคน การเรียนรู้งาน การเรียนรู้องค์กร สร้างมูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่มคน มูลค่าเพิ่มงาน มูลค่าเพิ่มองค์กร
10
12 หน้าที่การจัดการความรู้
KM Function 4 เป้าหมาย 3 ผลลัพท์ Management Human Development Working Learning Organizing Value Added 12 หน้าที่การจัดการความรู้
11
เป้าหมาย กระบวนการ ผลลัพท์ ของ KM
1 MH 2 MW 3 MO 4 DH 5 DW 6 DO 7 LH 8 LW 9 LO 10 V H VW VO
12
12 มิติ การจัดการความรู้ 12หน้าที่การจัดการความรู้
KM Application 12 มิติ การจัดการความรู้ คุณค่า 12หน้าที่การจัดการความรู้ CKO KM Team KNOWLEDGE KNOW HOW KM Culture
13
KM Management: การบริหารจัดการความรู้
Planning Organnizing KM Publishing Staffing Controlling
14
วิเคราะห์ความต้องการ/จำเป็น
KM Team : ทำอะไร วิเคราะห์ความต้องการ/จำเป็น วิเคราะห์ความรู้ จำแนกความรู้ ใช้ความรู้ ประเมินความรู้ KM. Team ออกแบบ กำหนดความรู้ สร้างความรู้ พัฒนาความรู้
15
KM Assets & Management วางแผน วางแผน วางแผน บริหาร บริหาร บริหาร พัฒนา
ทรัพยากร/สินทรัพย์ วางแผน บริหาร พัฒนา เรียนรู้ วางแผน บริหาร พัฒนา เรียนรู้ วางแผน บริหาร พัฒนา เรียนรู้ มูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่ม
16
ความรู้:สินทรัพย์/ทรัพยากร
1 วางแผนดี มีมูลค่าเพิ่ม วางแผนไม่ดี ไม่มีมูลค่าเพิ่ม 2 บริหารดี มีมูลค่าเพิ่ม 3 พัฒนาดี มีมูลค่าเพิ่ม 4 เรียนรู้ดี มีมูลค่าเพิ่ม ความรู้ เป็นทรัพยากร/สินทรัพย์ ที่ยิ่งใช้ยิ่งมากมีมูลค่าเพิ่ม ยิ่งไม่ใช้ยิ่งลด ไม่มีมูลค่าเพิ่ม
17
CKO:Function:UTAPCAR Model
1 Understanding: KM Knowledge 2 Team building : KM Team 3 Assignment : KM Function 4 Practical : KM Action 5 Controling : KM Monitoring 6 Assessment: KM Evaluation 7Reinforcement & Reporting:KM Motivation & Report
18
* * KM MAN หัว KM หู KM ตา KM ปาก KM มือ KM ใจ KM KM ทำ KM KM
“Araya. KM. Model 2007”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.