การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา

2 ระบบไพร่ ศักดินา

3 ระบบไพร่ ควบคุมกำลังคน/แรงงาน ฐานการผลิต การทหาร

4 ฐานะทางสังคม หน้าที่ ยศ ตำแหน่ง ความรับผิดชอบ สิทธิพึงมี ศักดินา

5 สังคมอยุธยา ลาลูแบร์ ประเมินว่าอยุธยามีพลเมือง 1,900,000 คน

6 สงครามกับรัฐอาณาจักรเพื่อนบ้าน
การกวาดต้อนผู้คน เพื่อใช้ประโยชน์ด้าน แรงงาน ความจำเป็นในการจัดระเบียบสังคม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

7 กฎหมายตราสามดวง แหล่งรวบรวมข้อมูลด้านกฎหมายที่ใช้
ในสมัยอยุธยาจนถึงการชำระสุดท้ายในสมัยรัชกาลที่ 1 แต่กฎหมายที่ปรากฏอยู่ได้มีการชำระตัดทอน แก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง

8 มีระบุการจัดหมวดหมู่ไพร่เป็นหมวดหมู่ตามจำนวน สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน
กฎหมายตราสามดวง มีระบุการจัดหมวดหมู่ไพร่เป็นหมวดหมู่ตามจำนวน สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ในพระอัยการอาญาหลวง ระบุตำแหน่งหัวหมื่น หัวพัน หัวปาก หัวสิบ

9 ไพร่หลวง ไพร่สม อำนาจที่รวมศูนย์ อำนาจกระจายตัว ไพร่ของพระมหากษัตริย์
สังกัดกองของเมืองหลวง ไพร่ของมูลนาย เจ้าเมืองที่อยู่ห่างออกไป อำนาจที่รวมศูนย์ อำนาจกระจายตัว

10 อำนาจที่รวมศูนย์ มูลนายหรือเจ้าเมือง ขึ้นสังกัดกรมกอง
มีขุนนางจากส่วนกลาง (เมืองหลวง) เข้ามาบริหาร จัดการ เพิ่มอำนาจของกษัตริย์ด้วย ถ้าไม่ยอมก็เสี่ยงที่จะถูกปราบปรามด้วย ไพร่ถูกเกณท์แรงงานเพิ่มขึ้น คือจากมูลนายภายในเมืองและทำงานให้กับกรมในเมืองหลวง ตามหมายเกณท์ของพระมหากษัตริย์

11 กฎหมายเรื่องไพร่ ระบุใน "พระอัยการลักษณะทาษ" ว่า
ระบุใน "พระอัยการลักษณะทาษ" ว่า ไพร่ฟ้าทาสไทหลบหนี ไม่ว่าช้านานเพียงไรกฏหมายก็ยังรับรองสิทธิเหนือไพร่ทาสของเจ้าไพร่

12 ฐานะทางสังคม หน้าที่ ยศ ตำแหน่ง ความรับผิดชอบ สิทธิพึงมี ศักดินา

13 ศักดินา เชื่อว่าเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยต้นอยุธยา แต่มีระเบียบกฎเกณฑ์ที่แน่นอนในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

14 ศักดินา มีพื้นที่วิธีคิดจากชาติกำเนิด และตำแหน่งทางราชการ
เพื่อแบ่งชนชั้นปกครองออกจากไพร่สามัญชน

15 ศักดินา มีกลไกด้านวัฒนธรรมที่แสดงออกมาด้านขนบประเพณี พิธีกรรม การใช้ภาษา ที่ทำให้เกิดความแตกต่าง และความห่างด้านชนชั้นระหว่างนชั้นปกครองกับไพร่

16 ความสัมพันธ์ระหว่างมูลนายกับไพร่
กฎ เกณฑ์แรงงานปีละ 6 เดือน เสียเป็นส่วยที่เป็นผลผลิตของท้องถิ่นนั้น

17 ค่าฤชา เงินค่าธรรมเนียมและค่าปรับทางการศาล
ค่าฤชา เงินค่าธรรมเนียมและค่าปรับทางการศาล อากร ภาษีผลผลิต เช่น อากรค่านา อากรสวน อากรสุรา จังกอบ ภาษีศุลกากร ค่าผ่านด่าน สินค้าเข้า/ออก

18 การหลีกเลี่ยงหรือหลบหนี มีโทษทั้งทางทรัพย์สินและร่างกาย
ประโยชน์ที่ไพร่ได้รับคืิอ รัฐจะให้การคุ้มครองชีวิตและทรัพย์ การหลีกเลี่ยงหรือหลบหนี มีโทษทั้งทางทรัพย์สินและร่างกาย

19 คงอยู่ในสังคมสยามกว่า 500 ปี
ระบบไพร่ ศักดินา คงอยู่ในสังคมสยามกว่า 500 ปี


ดาวน์โหลด ppt การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google