งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า

2 ศาสนาเต๋า เต๋าเป็นทุกอย่าง เป็นทั้งผู้สร้าง เป็นทั้งคุณธรรมด้านต่างๆ เพราะฉะนั้นจึงมีผู้ตีความหมายเต๋าไปต่างๆ กันเต๋าน่าจะตรงกับ ธรรมในพุทธศาสนามากกว่าอย่างอื่น เพราะคำว่า ธรรม มีความหมายกว้าง หมายทั้งธรรมชาติ กฎธรรมชาติและผลของธรรมชาติ นอกนี้ยังหมายถึงธรรมหรือคุณธรรมอย่างที่เข้าใจกัน

3 ศาสนาเต๋า ๒. เน้นความกลมกลืนกับธรรมชาติ ๓. เต๋า ทาง ทิพยบรรดา
๑. เหล่าจื้อ ๒. เน้นความกลมกลืนกับธรรมชาติ ๓. เต๋า ทาง ทิพยบรรดา ๔. เดิมมีลักษณะเป็นปรัชญา ศาสนา : เต้าสือ, เต๋าเก๊กเก้ง ๕. ไม่ชอบยุ่งการเมืองหรือสังคม เพราะถือว่ายุ่งวุ่นวายกับกฏเกณฑ์

4 ** ผู้ที่ตั้งลัทธิเต๋า ขึ้นแท้ที่จริงแล้วคือ “เตียเต๋าเล้ง” **
๖. จริยธรรมที่สำคัญในศาสนาก็คือ การใช้ชีวิตกับธรรมชาติเพื่อสู่ ความเป็นเต๋า ลัทธินี้เกิดขึ้นจากความเชื่อถือบูชาพระเจ้าประจำธรรมชาติ ผสมกับความเชื่อในวิชาเล่นแร่แปรธาตุ ผลิตยาอายุวัฒนะหรือยาทิพย์ ** ผู้ที่ตั้งลัทธิเต๋า ขึ้นแท้ที่จริงแล้วคือ “เตียเต๋าเล้ง” **

5 ลักษณะพิธีกรรมของลัทธิเต๋า
พิธีกรรมเน้นหนักไปทางด้านอภินิหาร - พิธีทำให้อยู่ยงคงกระพัน หนังเหนียว กระดูกแข็ง - พิธีนำฌานถอดดวงวิญญาณไปรวมกับเต๋า - พิธีปรุงยาอายุวัฒนะให้มีอายุยืน พิธีกรรมของเต๋าคล้ายกับการบำเพ็ญโยคะของพวกโยคีอินเดีย สาวกพวกนี้เรียกว่า “เต๋ายิ้น”

6 ๗. ปรัชญาในการดำเนินชีวิตให้ดีขึ้น
๗.๑ รู้จักตนเองให้ถูกต้อง ๗.๒ ชนะตนเองให้ได้ ๗.๓ มีความรู้พอกับตนเอง ๗.๔ มีเต๋าเป็นอุดมคติ

7 เหลาจื้อแบ่งมนุษย์เป็น ๒ ประเภทคือ
๑. สาธุชน คือผู้ที่รู้จักนำเต๋าที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ดุจทารกแรกเกิด ควบคุมจิตใจให้อยู่ในภาวะที่บริสุทธิ์ ๒. ทุรชน คือ ผู้มีเต๋า แต่ลืมเต๋าโดยสิ้นเชิง จึงปฏิบัติตนเป็นคนชั่ว

8 สัญลักษณ์ของศาสนาเต๋า รูปเล่าจื๊อขี่กระบือ อันเป็นเครื่องหมายการเดินทางครั้งสุดท้ายเมื่ออกจากหน้าที่ทางราชการแล้วและมีความเชื่อว่าเล่าจื๊อยังไม่ตาย

9 เล่าจื้อ จางเต๋าหลิง

10 พิธีกรรม ๒. พิธีปราบผีปิศาจ ๓. พิธีการไหว้บูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ
๑. พิธีบริโภคอาหารเจ ๒. พิธีปราบผีปิศาจ ๓. พิธีการไหว้บูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ ๔. พิธีที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอื่น ๕. พิธีกรรมอื่น ๆ

11 นิกาย ๑. เฮ็ง-อิ - กลุ่มที่อยู่ทางใต้ นิกายนี้เชื่อโชคลางอภินิหารและคาถาอาคม จึงมีคาถามากมาย นักบวชของนิกายนี้มีความเป็นอยู่แบบชาวบ้านทั่วไป และมีครอบครัวได้ ๒. ชวน-เชน - กลุ่มที่อยู่ทางเหนือ นิกายนี้มุ่งดำเนินตามคำสอนเต๋า ดำเนินชีวิตให้กลมกลืนกับธรรมชาติ รักสงบ รับประทานมังสวิรัติ นักพรตจะไม่แต่งงาน ไม่ดื่มน้ำเมา

12 คัมภีร์ในศาสนา “เต๋า เต็ก เกง”

13 สรุปลักษณะพื้นฐานของศาสนาเต๋า
ถ้าเป็นแบบปรัชญาเต๋า ก็เป็นธรรมชาตินิยม แต่ถ้าเป็นแบบศาสนาก็เป็นรหัสนิยม เน้นเข้าถึงเต๋า โดยการค้นหาความจริงภายใน ถ้าเป็นแบบปรัชญา ก็ปฏิบัติอกรรม คือไม่ทำอะไรด้วยอุปทาน จุดหมายสูงสุดคือเต๋าเพื่อเป็นอมตบุคคล


ดาวน์โหลด ppt เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google