ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNui Dabaransi ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
2
ปัญหาการวิจัย มนุษย์มีความจำเป็นต้องปรับตัว เพื่อให้มีชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข การปรับตัวจึงเป็นกระบวนการที่สำคัญ ที่จะต้องเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นวัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ หรือผู้สูงอายุก็ตาม เพราะถ้ามนุษย์ไม่สามารถปรับตัวเองให้ เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ ก็จะทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่นเกิดความคับข้องใจ วิตกกังวล มีความขัดแย้ง ที่ส่งผล ถึงด้านพฤติกรรม ซึ่งปัญหาในการปรับตัวนี้เกิดขึ้นได้กับ มนุษย์ทุกกลุ่มทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยรุ่น ช่วงอายุระหว่าง 14 – 18 ปี เพราะเป็นวัยที่กำลังศึกษา อยากลองอยากรู้ และเป็นวัยที่ร่างกายเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว จากวัยเด็กสู่ วัยรุ่น ซึ่งเป็นช่วงวัยที่สังคม กลุ่มรอบข้างมีการ เปลี่ยนแปลง มีผลทำให้ต้อง ปรับตัวและมีปัญหามากที่สุด
3
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรม การ ปรับตัวของนักเรียน ในวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ 2. เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมและ เงื่อนไขใน สถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการ ปรับตัวของนักเรียน
4
ประชากร เป็นนักเรียน ปวช. ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ ที่มีปัญหาจำนวน 4 กลุ่ม การเลือกกรณีศึกษา ใช้ วิธีการเลือก แบบ Extreme Case Sampling (Patton,1990) ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะหาผู้ให้ ข้อมูลหลัก โดยใช้วิธี Snow ball
5
กลุ่มตัวอย่าง 1. กลุ่มที่มีปัญหายาเสพ ติด 2. กลุ่มที่มีพฤติกรรม เบี่ยงเบน 3. กลุ่มที่มีปัญหาหนีเรียน 4. กลุ่มที่มีปัญหาทะเลาะ วิวาท 5. ศึกษาข้อมูลจากบุคคล ที่เกี่ยวข้อง - อาจารย์ผู้สอน - อาจารย์ที่ปรึกษา - ผู้ปกครอง
6
สรุปผลการวิจัย 1. นักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านเบี่ยงเบนทางเพศและด้านเกเร หนีเที่ยวเตร่ สามารถปรับตัวหรือพฤติกรรมให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม เงื่อนไข กฎระเบียบข้อบังคับของทางวิทยาลัยได้ 2. นักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านปัญหาการทะเลาะวิวาทและปัญหา ยาเสพติดไม่สามารถปรับพฤติกรรม หรือปรับตัวให้เข้ากับสภาพ แวดล้อมเงื่อนไข กฎระเบียบของทางวิทยาลัย ได้
7
ประโยชน์ที่ได้จากการ วิจัย ได้การแก้ไขปัญหาเชิงป้องกันดังนี้คือ 1. อบรมส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจด้าน จริยธรรม การใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างวัยเรียนที่ ถูกต้อง เหมาะสม อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2. สร้างสรรค์ สนับสนุน กิจกรรมที่ให้นักเรียน ได้แสดงความคิดเห็น การทำกิจกรรมร่วมกัน อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม ในการนำเสนอข้อคิดเห็น ที่ถูกต้อง เหมาะสมร่วมกันเพื่อ นำไปสู่การปฏิบัติจริง และใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.