ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChoi Khuntilanont ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
การป้องกันกำจัด เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุด ทำลายตอยางเก่า ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดิน แล้วควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อ ปรับสภาพดินให้เหมาะกับการ เจริญเติบโตของพืช และจุลินทรีย์ในดิน ที่เป็นพิษต่อเชื้อราสาเหตุโรคราก หลังการปลูกยางไปแล้ว 1 ปี ควรตรวจ ค้นหาต้นยางที่เป็นโรครากเป็นประจำ เมื่อพบต้นเป็นโรค ควรขุดทำลายและ รักษาต้นข้างเคียงโดยการใช้สารเคมี
3
เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุดทำลาย ตอยางเก่า ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดินแล้วควร ปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อปรับสภาพดินให้ เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช และ จุลินทรีย์ในดินที่เป็นพิษต่อเชื้อราสาเหตุโรค ราก
4
หลังการปลูกยางไปแล้ว 1 ปี ควรตรวจค้นหา ต้นยางที่เป็นโรครากเป็นประจำ เมื่อพบต้นเป็น โรค ควรขุดทำลายและรักษาต้นข้างเคียงโดย การใช้สารเคมี
5
การป้องกันกำจัด ต้นยางที่มีอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป ควร ขุดคูล้อมบริเวณต้นโรค เพื่อกั้นระหว่าง ต้นที่เป็นโรคและต้นปกติ ไม่ให้ราก สัมผัสกัน ไม่ควรปลูกพืชร่วม หรือพืชแซมที่เป็น พืชอาศัยในพื้นที่ที่เป็นโรคราก ใช้สารเคมีสำหรับรักษาต้นที่เป็นโรค เพียงเล็กน้อย และใช้กับต้นข้างเคียง เพื่อป้องกันโรค เช่น ไตรเดอร์มอร์ฟ (tridemorph), ไซโปรโคนาโซล (cyproconazole), โปรปิโคนาโซล (propiconazole), เฮกซะโคนาโซล (hexaconazole), เฟนิโคลนิล (feniclonil)
6
ต้นยางที่มีอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป ควรขุดคู ล้อมบริเวณต้นโรค เพื่อกั้นระหว่างต้นที่เป็น โรคและต้นปกติ ไม่ให้รากสัมผัสกัน ไม่ควรปลูกพืชร่วม หรือพืชแซมที่เป็นพืช อาศัยในพื้นที่ที่เป็นโรคราก
7
ใช้สารเคมีสำหรับรักษาต้นที่เป็นโรคเพียง เล็กน้อย และใช้กับต้นข้างเคียง เพื่อป้องกัน โรค เช่น ไตรเดอร์มอร์ฟ (tridemorph), ไซโปร โคนาโซล (cyproconazole), โปรปิโคนาโซล (propiconazole), เฮกซะโคนาโซล (hexaconazole), เฟนิโคลนิล (feniclonil)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.