งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Welcome to .. Predator’s Section

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Welcome to .. Predator’s Section"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Welcome to .. Predator’s Section
บรรจง ศิริชุมพันธ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

2 แมลงห้ำ (predator) - แมลงที่กินแมลงชนิดอื่นๆเป็นอาหาร
- ตลอดวงจรชีวิต กินเหยื่อได้หลายตัว - มักจะมีขนาดใหญ่กว่าเหยื่อ

3 แมลงห้ำ มวนตัวห้ำ  มวนพิฆาต  มวนเพชฌฆาต แมลงช้างปีกใส แมลงหางหนีบ

4 มวนตัวห้ำ มวนพิฆาต Stink bug มวนเพชฌฆาตAssassin bug Sycanus collaris
Eocanthecona furcellata Sycanus collaris

5 มวนตัวห้ำ ประโยชน์ ควบคุมหนอนผีเสื้อศัตรูพืชเกือบทุกชนิด เช่น หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนคืบฝ้าย หนอนม้วนใบ หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก หนอนหัวกะโหลก หนอนคืบละหุ่ง ฯลฯ

6 มวนพิฆาต ระยะไข่ เป็นกลุ่ม ทรงกลม สีเทา เมื่อใกล้ฟักจะเป็นสีเหลืองส้ม
เป็นกลุ่ม ทรงกลม สีเทา เมื่อใกล้ฟักจะเป็นสีเหลืองส้ม จำนวน 8-70 ฟอง (เฉลี่ย 42) อายุไข่ 5-7 วัน

7 มวนพิฆาต ระยะตัวอ่อน - มี 5 วัย สีแดงสลับดำ อายุ ~ วัน

8 มวนพิฆาต ระยะตัวเต็มวัย ขนาดลำตัว 1 - 1.5 ซม.
บ่าทั้งสองข้างมีลักษณะเป็นหนามแหลมยื่นออกมา อายุประมาณ วัน วงจรชีวิต จากไข่จนถึงสิ้นอายุขัย ประมาณ 1 ½ - 2 เดือน

9 วงจรชีวิต 5-7 วัน 18-22 วัน 20-30 วัน

10 ระยะไข่ กลุ่มสีเหลือง ทรงยาวรี กลุ่มละ 20-230 ฟอง (เฉลี่ย 70 ฟอง)
มวนเพชฌฆาต ระยะไข่ กลุ่มสีเหลือง ทรงยาวรี กลุ่มละ ฟอง (เฉลี่ย 70 ฟอง) อายุไข่ 7-10 วัน

11 ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายมด ตัวสีส้มแดง
มวนเพชฌฆาต ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายมด ตัวสีส้มแดง ก่อนจะเข้าสู่ตัวเต็มวัย จะมีขอบของส่วนท้องด้านข้างยื่นขยายออกมาเหนือปีก อายุเฉลี่ย 48 วัน

12 ตัวอ่อน มวน เพชฌฆาต

13 ระยะตัวเต็มวัย ลำตัว 2-2.5 ซม. อายุ ~ 30 วัน
มวนเพชฌฆาต ระยะตัวเต็มวัย ลำตัว ซม. อายุ ~ 30 วัน วงจรชีวิต - จากไข่จนถึงสิ้นอายุขัย ประมาณ 3 เดือน

14 ลักษณะการเข้าทำลายหนอน
ใช้ปากแทงลงบนตัวหนอน ปล่อยสารพิษ ทำให้หนอนเป็นอัมพาต ดูดกินของเหลวในตัวหนอนจนหมด หนอนจะแห้งเหี่ยวเหลือแต่ผนังลำตัว

15 ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน
อัตราการปล่อย ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน - พบหนอนในแปลงน้อย (1-2 ตัว/จุด) ปล่อยมวน 100 ตัว/ไร่ (ไม้ผล 100 ตัว/ต้น ) - พบหนอนในปริมาณสูง ปล่อยมวน 2,000 ตัว/ไร่ (ไม้ผลปล่อย 2,000 ตัว/ต้น)

16 NEXT

17 แมลงช้างปีกใส (Green Lacewings)
Chrysopa basalis หรือ Mallada basalis

18 แมลงช้างปีกใส ประโยชน์ - เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย(ตัวอ่อน) เพลี้ยไฟ ไรแดง แมลงหวี่ขาว - ไข่และตัวหนอน วัย 1-2 ของหนอนผีเสื้อ หลายชนิด เช่น หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบ หนอนชอนใบส้ม เป็นต้น

19 ลักษณะการเจริญเติบโต
ไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ ตัวเต็มวัย

20 วงจรชีวิต แมลงช้างปีกใส
14 วัน 3-5 วัน 1 เดือน 7-10 วัน

21 ระยะไข่ - ทรงรี สีเขียวอ่อน ติดอยู่ที่ปลายก้าน - อายุไข่ 3 - 5 วัน
แมลงช้างปีกใส ระยะไข่ - ทรงรี สีเขียวอ่อน ติดอยู่ที่ปลายก้าน - อายุไข่ วัน

22 ไข่แมลงช้างปีกใส

23 ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายลูกจระเข้ สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.8–1.0 ซม.
แมลงช้างปีกใส ระยะตัวอ่อน รูปร่างคล้ายลูกจระเข้ สีน้ำตาลอ่อน ขนาด 0.8–1.0 ซม. อายุ ประมาณ 14 วัน

24 แมลงช้างปีกใส

25 แมลงช้างปีกใส ระยะดักแด้ - ทรงกลม สีขาวปนเทา ขนาดใกล้เคียงกับเมล็ดข้าวฟ่าง อายุ 7 – 10 วัน

26 ระยะตัวเต็มวัย สีเขียวอ่อน ปีกบางโปร่งฉลุคล้ายลูกไม้ สีเขียว
แมลงช้างปีกใส ระยะตัวเต็มวัย สีเขียวอ่อน ปีกบางโปร่งฉลุคล้ายลูกไม้ สีเขียว ลำตัวเรียว ยาวประมาณ 1.0 – 1.8 ซม. อายุประมาณ 1 เดือน

27 แมลงช้างปีกใส

28 ลักษณะการทำลายศัตรูพืช
เป็นตัวห้ำเฉพาะระยะที่เป็นตัวอ่อน กินทั้งไข่และตัวอ่อนของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด >>> เพลี้ยอ่อน เมื่อกินเหยื่อแล้วจะเอาซากของเหยื่อไว้บนหลัง ตัวเต็มวัยกินน้ำหวาน

29 ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน
อัตราการปล่อย ก่อนปล่อย ให้สำรวจปริมาณศัตรูพืชในแปลงก่อน - พบหนอนในแปลงน้อย (1-2 ตัว/จุด) ปล่อยมวน 100 ตัว/ไร่ (ไม้ผล 100 ตัว/ต้น ) - พบหนอนในปริมาณสูง ปล่อยมวน 2,000 ตัว/ไร่ (ไม้ผล 2,000 ตัว/ต้น)

30 NEXT

31 แมลงหางหนีบ (Earwigs)
ชอบอาศัยตามที่มืดและชื้น หากินกลางคืน

32 แมลงหางหนีบ ประโยชน์ กินไข่และหนอนขนาดเล็ก ของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด เช่น หนอนเจาะลำต้นและยอดอ้อย หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนเจาะสมอฝ้าย เพลี้ยอ่อน ไข่และตัวหนอนของด้วงกุหลาบ

33 ชนิดสีน้ำตาลProreus simulans
แมลงหางหนีบ ชนิดสีดำ Euborellia sp. ชนิดสีน้ำตาลProreus simulans

34 ชนิดสีดำ ชนิดสีน้ำตาล ถิ่นอาศัย สีลำตัว ปีก แพนหาง แปลงอ้อย สีดำ
ไม่มีปีก เรียบ แปลงข้าวโพด สีน้ำตาล มีปีก เพศผู้ มีติ่งที่หาง

35 ลักษณะการเจริญเติบโต
ไข่ ตัวเต็มวัย ตัวอ่อน

36 ระยะไข่ ทรงกลม ผิวเรียบ สีขาวนวล วางไข่เป็นกลุ่มใต้ดิน
แมลงหางหนีบ ระยะไข่ ทรงกลม ผิวเรียบ สีขาวนวล วางไข่เป็นกลุ่มใต้ดิน ไข่ 1 กลุ่ม >> 30–40 ฟอง อายุไข่ 8–10 วัน

37 ระยะตัวอ่อน มีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย มี 3 วัย อายุ ~ 55 วัน
แมลงหางหนีบ ระยะตัวอ่อน มีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย มี 3 วัย อายุ ~ 55 วัน

38 แพนหางเรียบสีดำ หนวดแบบเส้นด้าย อายุ ~ 90 วัน
แมลงหางหนีบ ระยะตัวเต็มวัย ลำตัวสีดำ ไม่มีปีก แพนหางเรียบสีดำ หนวดแบบเส้นด้าย อายุ ~ 90 วัน

39 เพศเมีย เพศผู้ ขนาด - ใหญ่กว่า ขนาด - เล็กกว่า หนวด - 16 ปล้อง สีดำ
แมลงหางหนีบ เพศผู้ ขนาด - เล็กกว่า หนวด -13 ปล้อง สีดำ (11+12 มีสีขาว) แพนหาง - เรียบ สีดำ เพศเมีย ขนาด - ใหญ่กว่า หนวด - 16 ปล้อง สีดำ (12+13 สีขาว) แพนหาง – เรียบสีดำ ใหญ่ แข็งแรง

40 เหยื่อที่เป็นหนอน จะใช้แพนหางหนีบ จนหนอนตายแล้วกัดกินเป็นอาหาร
แมลงหางหนีบ การทำลายเหยื่อ เหยื่อที่เป็นหนอน จะใช้แพนหางหนีบ จนหนอนตายแล้วกัดกินเป็นอาหาร ถ้ากินอิ่มแล้ว หากพบหนอน จะใช้แพนหางหนีบจนหนอนตายแล้วทิ้งและไปหนีบหนอนตัวใหม่โดยไม่กินเหยื่อ เพลี้ยอ่อน จะใช้ปากกัดกินโดยตรง

41 แมลงหางหนีบ พฤติกรรมของตัวเมีย - ตัวเมียจะเฝ้าไข่อยู่ตลอดเวลา ถ้าไข่ถูกรบกวน จะย้ายไข่ไปซ่อนที่อื่น แต่ถ้าไข่ยังถูกรบกวนอยู่อีก ก็จะกินไข่ของมันเองจนหมด

42 อัตราการใช้ - 100 – 2,000 ตัว/ไร่ (ขึ้นกับปริมาณศัตรูพืชในแปลงปลูกพืช)
แมลงหางหนีบ อัตราการใช้ - 100 – 2,000 ตัว/ไร่ (ขึ้นกับปริมาณศัตรูพืชในแปลงปลูกพืช) - ปล่อย 1 – 2 ครั้ง/ฤดูกาลปลูก

43 NEXT

44 ด้วงเต่าตัวห้ำ ประโยชน์ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง
ไข่ของหนอนผีเสื้อ แมลงที่มีลำตัวอ่อนนุ่มขนาดเล็ก

45 ด้วงเต่าลายหยัก Menochilus sexmaculatus
ด้วงเต่าตัวห้ำ ด้วงเต่าลายหยัก Menochilus sexmaculatus

46 ด้วงเต่าลายสมอ Coccinella transversalis

47 ด้วงเต่าสีส้ม Micraspis discolor

48 ด้วงเต่าลายจุด Harmonia octomaculata

49 ลักษณะการเจริญเติบโต
ไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ ตัวเต็มวัย

50 ระยะไข่ เป็นกลุ่มเรียงกันเป็นระเบียบ สีเหลือง ทรงรี คล้ายลูกรักบี้
ด้วงเต่าลาย ระยะไข่ เป็นกลุ่มเรียงกันเป็นระเบียบ สีเหลือง ทรงรี คล้ายลูกรักบี้ อายุไข่ ประมาณ 2 วัน

51 ระยะตัวอ่อน ลำตัวแบนหัวท้ายเรียว ลำตัวมีปุ่มหนามอ่อนๆ
ด้วงเต่าลาย ระยะตัวอ่อน ลำตัวแบนหัวท้ายเรียว ลำตัวมีปุ่มหนามอ่อนๆ อายุประมาณ วัน

52 ระยะดักแด้ สีครีมหรือสีเหลืองอมส้ม
ด้วงเต่าลาย ระยะดักแด้ สีครีมหรือสีเหลืองอมส้ม มีระยางค์ส่วนขาและปีกเจริญอยู่ภายนอกลำตัว อายุประมาณ 2 วัน

53 ระยะตัวเต็มวัย รูปครึ่งวงกลมหรือรูปไข่ ลำตัวโค้งนูน เป็นมันเรียบ
ด้วงเต่าลาย ระยะตัวเต็มวัย รูปครึ่งวงกลมหรือรูปไข่ ลำตัวโค้งนูน เป็นมันเรียบ มีหลายสี>>เหลืองอ่อน เหลืองแก่ สีส้มหรือสีชมพู ปีกคู่แรกมีลายหยักเป็นคลื่น ปลายปีกมีแต้มวงกลมสีดำ ข้างละ 1 จุด ขอบด้านล่างของปีกมีแถบสีดำยาวตลอดขอบของปีก อายุประมาณ 1 เดือน

54 การขนส่ง/เก็บรักษาแมลงห้ำ
 ควรนำไปปล่อยในแปลงทันทีหรือเร็วที่สุด  มีอาหารเพียงพอจนถึงเวลาปล่อย (กินกันเอง ถ้าอาหารไม่เพียงพอ)  เก็บในที่ร่ม เย็น อากาศถ่ายเทสะดวก  เขตปลอดมด

55 การปล่อยแมลงห้ำ - ปล่อยเป็นจุดๆ ให้กระจายไปทั่วทั้งแปลงปลูก
หลีกเลี่ยงช่วงที่แสงแดดจัด งดการพ่นสารเคมีกำจัดแมลง

56 ..The End ..


ดาวน์โหลด ppt Welcome to .. Predator’s Section

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google