ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSinn Sathianthai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
มุมมองการดำเนินงาน Service Plan ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 นพ.วิรัช พันธ์พานิช ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์ CSO เขตบริการสุขภาพที่ 1 22 กันยายน 2557 นำเสนอโรงพยาบาลลำปาง 1 1
2
VISION “ ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จ ภายในเครือข่ายบริการ”
3
วัตถุประสงค์ของ Service Plan
เพื่อให้บริการที่มีคุณภาพ ไร้รอยต่อ และเข้าถึงง่าย 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริการโดยการบริหารจัดการ 3. เป็นแผนแม่บทในการพัฒนาระบบบริการ
4
เป้าหมาย 1.มาตรฐานการบริการ 2.เข้าถึงบริการ 3.ลดระยะเวลารอคอย 4.ลดอัตราป่วย 5.ลดอัตราตาย 6.ลดค่าใช้จ่าย
5
กรอบแนวคิด พัฒนาเครือข่ายบริการ(ระบบส่งต่อ)ให้มีคุณภาพ
ประสิทธิภาพ ไร้รอยต่อโดยดำเนินการในรูปคณะกรรมการและพัฒนาสถานบริการแต่ละระดับ ให้ได้เกณฑ์มาตรฐานตามสาขาโรคนั้น ๆ
6
วิธีการในการจัดทำ Service Plan
1. จัดตั้งคณะกรรมการ 2. วิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพ 3. จัดระดับสถานบริการ บทบาทหน้าที่ และเครือข่าย 4. จัดทำ Gap analysis และแผนพัฒนาสถานบริการ
7
องค์ประกอบของ Service Plan
แผนพัฒนาบริการ แผน พบส. (Share Resource) แผน HRP / HRD แผนลงทุน
8
ระดับความสำเร็จการดำเนินงาน
ระดับที่ 1 มีคณะกรรมการ/ผู้เชี่ยวชาญของเครือข่ายบริการตามกลุ่มบริการ ระดับที่ 2 มีการวิเคราะห์ปัญหาในแต่ละกลุ่มบริการที่เป็นส่วนขาดของสถานบริการสุขภาพแต่ละระดับและเชื่อมโยงกับเครือข่ายบริการ ระดับที่ 3 มีการจัดทำแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ/ผู้เชี่ยวชาญจากเครือข่ายบริการสุขภาพ ระดับที่ 4 มีการบริหารจัดการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการของเครือข่ายบริการ
9
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
1.Working on the process 2.Working in the process 3.ใช้ concept Six Building Blocks ในการจัดทำ Service Plan
10
Working on the process (Improving how we do the works)
ผู้บริหารระดับจังหวัดมี Commitment (นพ.สสจ. และ ผอ.รพ.จังหวัด) มีการจัดการระดับจังหวัด เน้นการติดตาม ประเมินผล มีการสนับสนุนที่สำคัญ คน /ครุภัณฑ์ / สิ่งก่อสร้าง การปรับโครงสร้างและกระบวนการทำงานระดับจังหวัด จัด
11
การจัดโครงสร้างระดับจังหวัดเพื่อขับเคลื่อน Service Plan
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพจังหวัด (คพสจ./กวป.เดิม) (Provincial Health Board) คณะอนุกรรมการ Regulator ระดับจังหวัด (Provincial Regulatory Committee) คณะอนุกรรมการ provider ระดับจังหวัด (Provincial provider Committee) คณะอนุกรรมการ ด้านการสนับสนุน ทรัพยากรระดับ จังหวัด (Provincial Supporter Committee )
12
Working in the process (Delivery results)
ทำงานเป็นทีมเดียวกันระหว่างแพทย์ใน รพ.จังหวัดและ รพช. ใช้ Six Building Block ในการจัดทำ Service Plan ในสาขาหลัก 5 สาขาให้แยกเป็นกลุ่มย่อยแต่ละสาขา มีการติดตามประเมินผลและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จัดทำข้อเสนอแนะให้ทีมบริหารระดับจังหวัด สนับสนุนด้านการเงิน บุคลากรและครุภัณฑ์
13
การใช้ concept Six Building Blocks ในการจัดทำ Service Plan
14
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
Service Plan จ.เชียงใหม่ แผน พบส แผน HRD Investment Plan
15
WHO Health System Framework
SERVICE DELIVERY IMPROVED HEALTH (LEVEL AND EQUITY) HEALTH WORKFORCE INFORMATION RESPONSIVENESS MEDICAL PRODUCTS,VACCINES & TECHNOLOGIES SOCIAL AND FINANCIAL RISK PROTECTION FINANCING IMPROVED EFFICIENCY LEADERSHIP/GOVERNMENT Source: World Health Organization. Everybody’s Business: Strengthening health systems to improve health outcomes—WHO’s Framework for Action. Geneva: WHO, 2007, page 3.
16
Building Block Interaction
Health System Function Health System Function Impact Leadership & Governance Access Responsiveness Coverage Risk Protection Health Workforce Efficiency Service Delivery Health Information System Equity Improved Health Medical Products Vaccine & Technologies Safety Sustainability Health Financing COMMUNITIES AND PATIENTS
17
Contribute to the strengthening of health system in different ways
Six building blocks Contribute to the strengthening of health system in different ways
18
Provide Overall policy
Leadership/Governance Health information System Regulate all other health system block
19
Key input component Financing & Health Workforce
20
Medical Products Vaccine & Technologies Immediate output of system SERVICE DELIVERY
21
การสรุปผลการพัฒนา Service Plan ระดับเขต
22
การพัฒนา Service Delivery
(ตัวอย่าง) สาขา…………… ระดับสถานบริการ การพัฒนา Service Delivery เป้าหมาย ผลการพัฒนา A M1 M2 F1
23
(ตัวอย่าง) STEMI/ Non STEMI
ระดับสถานบริการ การพัฒนา Service Delivery เป้าหมาย ผลการพัฒนา A 1.สามารถให้บริการตรวจสวนหัวใจ 1.พร้อมเปิดห้องสวนหัวใจ กย.57 รอทีมจากสปสช.เข้าประเมินก่อนดำเนินการ M1 (2 รพ) 1.สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด 1.รพ.ฝาง,จอมทอง สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดและเป็นแม่ข่ายรับการส่งต่อ สายเหนือและสายใต้ M2 (3 รพ) 1.รพ.สันทรายและหางดง สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด ส่วน รพ. สันทรายอยู่ระหว่างเตรียมการ F1 (1รพ) 1.อยู่ระหว่างพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทั้งแพทย์ และพยาบาล เริ่มให้ sk ในเดือน ตค.57 (รพ.เชียงดาว)
24
การพัฒนา Service Delivery
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Service Delivery เป้าหมาย ผลการพัฒนา F2 (17 รพ) 1.สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด 1.อยู่ระหว่างพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทั้งแพทย์ และพยาบาล ยังไม่มียาSK F3 (1 รพ) 1.ประเมินผู้ป่วย / การวินิจฉัย/การอ่านEKG/ การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และการส่งต่อ 1.สามารถคัดกรอง ประเมินผู้ป่วย / การวินิจฉัย/การอ่านEKG/และส่งต่อได้ P (รพ.สต.) 1.สมารถคัดกรองผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น DM, HT, DLD - ให้ความรู้ การป้องกันโรค 1.ทุก รพ.สต. ได้รับการพัฒนาให้สามารถคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และให้ความรู้ในการป้องกันโรคได้
25
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Work Force เป้าหมาย
ผลการพัฒนา A 1.บุคลากรมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. เพิ่มแพทย์เฉพาะทางและพยาบาล 1.พยาบาลผ่านหลักสูตรการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและทรวงอก 1 คน 2.จัดหลักสูตร Case manager 1 วันให้กับ พยาบาลจาก รพ.ทุกแห่ง 3.ส่งแพทย์ศึกษาต่อด้านอายุรแพทย์โรคหัวใจ จำนวน 1 คน พยาบาลยังขาดแคลน M1 (2 รพ) 1.บุคลกรมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 1.พยาบาลผ่านหลักสูตรการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและทรวงอก 1 คน(จอมทอง) 2.อบรม Case manager 1 วัน 3.อบรม ACLS ทุกแห่ง 4.อบรม EMS & FR for heart ทุกแห่ง M2-F3 1.อบรม ACLS ทุกแห่ง 2.อบรม EMS & FR for heart ทุกแห่ง 3.อบรม Case manager 1 วัน
26
การพัฒนา Information System
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Information System เป้าหมาย ผลการพัฒนา A 1.พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคหัวใจให้เชื่อมโยงกับรพ.ทุกระดับ -พัฒนาระบบฐานข้อมูลการส่งต่อไป – กลับ 1.พัฒนาฐานข้อมูลของ UCHA กับเครือข่ายระดับประเทศ -มีแผนการเชื่อมโยงข้อมูลกับลูกข่าย ในปี 2558 M1 – F3 1.พัฒนาระบบฐานข้อมูลการส่งต่อไป – กลับ 1.พัฒนาช่องทางด่วน Hotline Counseling 1.ทุกแห่งมีการเก็บข้อมูลในหน่วยงานตนเอง ยังไม่ได้เชื่อมโยงกับเครือข่าย 2.ใช้ระบบเอกสารส่งต่อใบ refer 3.ทุกแห่งสามารถใช้ระบบการ Consult ผ่านระบบ Line โทรศัพท์ Fax
27
การพัฒนา Information System
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Information System เป้าหมาย ผลการพัฒนา P 1.พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคหัวใจให้เชื่อมโยงกับรพ.ทุกระดับ 2.พัฒนาระบบฐานข้อมูลการส่งต่อไป – กลับ 1.ทุกแห่งมีการเก็บข้อมูลในหน่วยงานตนเอง ยังไม่ได้เชื่อมโยงกับเครือข่าย 2.ใช้ระบบเอกสารส่งต่อใบ refer
28
การพัฒนา Equipment , Drug
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Equipment , Drug เป้าหมาย ผลการพัฒนา A 1.มีอุปกรณ์ เครื่องมือสำหรับเปิดบริการตรวจสวนหัวใจ อย่างเพียงพอและมีคุณภาพ 1.จัดเตรียมเครื่องมือสำหรับสวนหัวใจแบบ Single plan 1 เครื่อง 2.มีเตียง CCU 8 เตียง 3.มี IABP 1 เครื่อง 4.AED, Defibrillation 1 เครื่อง M1 1.มียา SK พร้อมใช้อย่างเพียงพอ 2.Thrombolytic agent 3.มีอุปกรณ์ เครืองมือพร้อมรองรับการส่งต่อ 4.มีเตียง ICU เพื่อรองรับผู้ป่วย 1.มีการสำรอง SK ที่ฝางและจอมทอง 2.AED, Defibrillation จำนวน 4 ตัว
29
การพัฒนา Equipment , Drug
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Equipment , Drug เป้าหมาย ผลการพัฒนา M2 – F1 1.มีอุปกรณ์ เครืองมือพร้อมรองรับการส่งต่อ 2. มีThrombolytic agent 1.อยู่ระหว่างเตรียมแผนงานดำเนินการ F2 2.Trop T/I 3.LMWH (Enoxaparin) 4.Clopidogreal 1.12 แห่งยังขาด - ขาดที่รพ.พร้าว เวียงแหง อมก๋อย ดอยเต่า 2.มี 2 แห่ง สารภี และ สันกำแพง 3.มี 2 แห่ง สารภี และ สันกำแพง
30
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Financial เป้าหมาย
ผลการพัฒนา A 1.มีงบประมาณเพียงพอต่อการพัฒนากระบวนการดำเนินงาน 1.ได้รับงบประมาณสำหรับดำเนินการพัฒนาจากงบประมาณรายจ่ายประจำปี 417,440 บาท ระดับสถานบริการ การพัฒนา Governance เป้าหมาย ผลการพัฒนา A –F3 1.มีระบบการสนับสนุนที่เป็นเอกภาพ 1.มีคณะทำงานระดับจังหวัดที่บริหารจัดการและสนับสนุนการพัฒนาเครือข่าย
31
การพัฒนา Participation
STEMI/ Non STEMI ระดับสถานบริการ การพัฒนา Participation เป้าหมาย ผลการพัฒนา A –P 1.ทุกหน่วยงานมีส่วนร่วมในการพัฒนการทำงาน 1.ระบบการประสานงานในเครือข่ายชัดเจน เน้นในเรื่องกลยุทธิ์ Health promotion , ส่งHome health care การคัดกรองและดูแลสุขภาพผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
32
การจัดทำแผนปฏิบัติการ Service Plan ระดับเขต ปีงบประมาณ 2558
33
MEDICAL PRODUCTS, VACCINES & TECHNOLOGIES
Service Plan ……………..……………. Service Delivery………………………. เป้าหมายปี 2558…………………………. ระดับสถานบริการ HEALTH WORKFORCE MEDICAL PRODUCTS, VACCINES & TECHNOLOGIES INFORMATION
35
Service Delivery ให้เขียนบริการหรือสิ่งที่สถานบริการจะดำเนินการให้เกิดขึ้น เป็นผลลัพธ์(OUTPUT) ขั้นต้นที่ต้องการให้เกิด
36
เป้าหมาย ให้ระบุปริมาณ หรือ จำนวนที่ต้องการให้เกิด
37
HEALTH WORKFORCE ให้ระบุเจ้าหน้าที่ทุกระดับที่จำเป็นต้องมี เพื่อให้เกิด Service Delivery ในจำนวนที่ระบุไว้ในเป้าหมาย ระบุศักยภาพหรือ Competency ของเจ้าหน้าที่ที่มีความจำเป็นต่อการบรรลุเป้าหมาย
38
MEDICAL PRODUCTS, VACCINES & TECHNOLOGIES
ให้ระบุ ยา วัคซีน เทคโนโลยี ที่จำเป็นเพื่อก่อให้เกิด Service Delivery ให้ระบุครุภัณฑ์ ที่จำเป็น ให้ระบุสิ่งก่อสร้าง
39
INFORMATION ให้ระบุความต้องการข้อมูลและระบบ IT ที่จำเป็นต่อการพัฒนาให้เกิด Service Delivery สำหรับการจัดทำแผน สำหรับการติดตาม สำหรับการประเมินผล
40
ข้อเสนอเพื่อการปรับปรุง แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ระดับเขต
40
41
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ หัวใจและหลอดเลือด รพ. A-F2 สามารถให้ Thrombolytic agent ได้ และ มี warfarin Clinic เปิดบริการ PCI ที่ รพ.ระดับ A (ที่มีห้องสวนหัวใจ) และผ่าตัดหัวใจได้ครบทุกเขตบริการ ในปี 2558 มีการตรวจ Echo และ EST ในรพ.ระดับ A-S ทุกแห่ง - ควรสนับสนุนมี Catch Lab ทุกเขต - ควรเพิ่มค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับ ภาระงาน การทำ Primary PCT สำคัญคือ พยาบาลหายาก (ไม่ได้ C8 เพราะไม่มีคนไข้นอน) ควรเปลี่ยนยาละลายลิ่มเลือดจาก SK เป็น Tenekteplase เพราะให้ง่ายกว่าได้ผลดีกว่า ภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่า กำหนดเป็นนโยบายกระทรวง ให้ รพ.ระดับ F2 ขึ้นไปควรให้ยา streptokinase ได้
42
- คัดกรองมะเร็งปากมดลูก , มะเร็งเต้านม
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ มะเร็ง - คัดกรองมะเร็งปากมดลูก , มะเร็งเต้านม -ตรวจพบมะเร็งระยะเริ่มต้นมากขึ้น -ระยะเวลาฉายแสงไม่เกิน 6 สัปดาห์ -ลดการส่งต่อออกนอกพวงบริการ -การเพิ่มการดูแลผู้ป่วย Palliative care - ควรมี Mr. Cancer เพื่อดูแลในภาพรวมเชิงระบบ ควรให้ความสำคัญกับการทำทะเบียนมะเร็ง เพื่อการวางแผนและบริหารจัดการ ควรทำ organized screening ทั่วทั้งประเทศเพื่อให้ ได้ coverage กลุ่มเป้าหมาย ควรพัฒนาบุคลากร เช่น Gyn Onco, Med Onco, Surgical Onco, นักฟิสิกส์ทางการแพทย์
43
เพิ่มเตียง Trauma ICU จาก 94 เป็น 160 เตียง ภายในปี 2560
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ อุบัติ เหตุ เพิ่มเตียง Trauma ICU จาก 94 เป็น 160 เตียง ภายในปี 2560 -ให้มี Trauma fast track ใน รพช. ทุกแห่ง ภายในปี 2558 มี Advance Burn Unit จาก10 เตียง เป็น 16 เตียง ภายใน ปี 2560 - มี National institute of Burn Care สร้างระบบงานและแรงจูงใจที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน,ศัลยแพทย์อุบัติเหตุฉุกเฉิน - สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรแก่โรงพยาบาลระดับต่ำกว่า M กระจายแพทย์ EP Neuro-surgery และพยาบาล EN อย่างเหมาะสม - ควรพัฒนาระบบส่งต่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น - การเสียชีวิตจากที่เกิดเหตุสูงถึงร้อยละ 35% ฉะนั้นต้องลดตรงการเกิดอุบัติเหตุ
44
- เพิ่มจำนวนเตียง NICU และ SNB
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ ทารกแรกเกิด - เพิ่มจำนวนเตียง NICU และ SNB - ศูนย์ระดับ 3: Hearing Screening/TPN/Refer - ศูนย์ระดับ 2 : Congenital Heart / Ped Surg ศูนย์ระดับ 1 : ROP / Cooling System /Complex Heart D sick newborn 100 % receive OAE hearing screening - Neonatal transport set ในทุก รพศ./รพท. ปัญหาหลักคือ premature จึงควรบูรณาการร่วมกันโดยกรมอนามัย กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต ส่งเสริมการ ให้ความรู้ เน้นกลุ่มท้องก่อนวัย (แม่วัยใส) บูรณาการร่วมกับสูติแพทย์ เพื่อป้องกันปัญหาเด็กน้ำหนักน้อย - รพ. M2 - M1 กรณีมีกุมารแพทย์ควรมี NICU การพัฒนา กุมารแพทย์ทั่วไปให้บริการ LBW/PT ได้อย่างมั่นใจ ในบริบทที่มี neonatologist ไม่เพียงพอ
45
- มี Psychosocial clinic ในสถานบริการสาธารณสุข
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ จิตเวช - มี Psychosocial clinic ในสถานบริการสาธารณสุข มีหอผู้ป่วยสำหรับผู้ป่วยจิตเวชในหน่วยบริการระดับ A มีการคัดกรอง ติดตาม ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า / โรคจิต ตั้งแต่ระดับชุมชน - การลดการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชออกนอกเครือข่าย มีเตียงจิตเวช ใน รพ.ระดับ A, S หรือ psychiatric unit ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ป่วย Acute ได้รับการดูแลรักษาเบื้องต้น และ ส่งต่อเมื่ออาการสงบเพื่อความปลอดภัยขณะส่งต่อ มี รพ.เป็น Center หลัก 1 แห่ง / เขต เพื่อ ดูแลผู้ป่วยจิตเวช ภายในเครือข่าย ลดการส่งต่อนอกเครือข่าย มีฐานข้อมูลครอบคลุมด้านบุคลากร สถานบริการ ระบบบริการ และระบบยา เพิ่มพูนทักษะผู้ที่ไม่มีพื้นฐานทางจิตเวชแต่มาช่วยงานจิตเวช ให้มีความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติงานด้านจิตเวช
46
รพ.ระดับ M1-M2 ทุกแห่งทำผ่าตัดคลอด Elective และAppendectomyได้
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ 5 สาขาหลัก รพ.ระดับ M1-M2 ทุกแห่งทำผ่าตัดคลอด Elective และAppendectomyได้ -กระจายการผ่าตัดไส้ติ่งไปโรงพยาบาลเครือข่าย -ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในภาวะวิกฤติ ทางเดินหายใจ -รพ.ระดับ A, S, M สามารถวินิจฉัย Sepsisได้ถูกต้องรวดเร็ว มีทีมผ่าตัด Microsurgery อย่างน้อย 1 ทีมในเขตสุขภาพ - มีการสนับสนุนที่สำคัญ ( คน ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง) - การปรับโครงสร้างระดับจังหวัดที่เหมาะสมและรองรับ ทีม Service Plan ระดับจังหวัดต้องมีแพทย์ทั้ง 5 กลุ่มงาน สาขาหลักของ รพ. จังหวัดและทีมของ รพช. - Postgraduate Training ควรผลิตได้เองในเขต - Resident Training
47
- การคัดกรองวัดสายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปี
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ จักษุ - การคัดกรองวัดสายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปี ผู้ป่วย Blinding Cataract ได้รับการผ่าตัดต้อกระจก ภายใน 30 วัน - เวลารอคอยผ่าตัดเฉลี่ย 90 วัน (80%) - คัดกรอง DR - การคัดกรองต้อหินในผู้ป่วยที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป - การตรวจ ROP ในเด็กทารกกลุ่มเสี่ยง (100%) การสนับสนุนทรัพยากร (คน เงิน ของ) เพื่อให้เกิดศูนย์เชี่ยวชาญ (Retina Center ) เขตละ 1 แห่ง สร้างขวัญ กำลังใจ เพื่อเป็นแรงจูงใจ ในการทำงานบุคลากรที่ปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาค ควรบูรณาการงานจักษุกับงานตามกลุ่มวัยและกับสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
48
- รพ.ทุกระดับให้บริการคัดกรองโรคไต
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ ไต - รพ.ทุกระดับให้บริการคัดกรองโรคไต - จัดตั้ง CKD clinic รพ.ระดับ A, S, M1 บริการล้างไตทางช่องท้อง CAPD ในรพ. ระดับ. A, S, M1 กำหนดให้มีศูนย์รับบริจาคอวัยวะในรพศ.อย่างน้อยเขตสุขภาพละ 1 แห่ง กำหนดมาตรฐานlab : ใช้วิธีตรวจ creatinine เป็นแบบ enzymetic method เพื่อให้ได้ค่า eGFR ที่เป็นมาตรฐาน กำหนดตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพเฉพาะทางของหน่วยไตเทียมเพื่อความก้าวหน้า (พยาบาลPD,HD,TC) เพิ่มประสิทธิภาพการขอรับบริจาคอวัยวะให้มีการทำ Brain Death Audit ในโรงพยาบาล กำหนดระเบียบ ข้อตกลง ระหว่าง กสธ. สมาคมโรคไต และ 3 กองทุน เรื่องไตเทียม เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เดียวกัน กำหนดแนวทางปฏิบัติสำหรับ Out source ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
49
รพ.สต. อย่างน้อย ร้อยละ 55 มีทันตบุคลากร ให้บริการทันตกรรมป้องกัน
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ สุข ภาพช่องปาก รพ.สต. อย่างน้อย ร้อยละ 55 มีทันตบุคลากร ให้บริการทันตกรรมป้องกัน - ศสม.และ รพ.ทุกแห่ง สามารถทำฟันเทียมได้ พัฒนา รพ.ให้มีศักยภาพการให้บริการตามเกณฑ์ SP และมีระบบ รับ-ส่งต่อผู้ป่วย บริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพช่องปากของ กสธ. ทั้งประเภท ปริมาณและคุณภาพ - สนับสนุนครุภัณฑ์ให้เพียงพอกับผู้ให้บริการ กำหนดมาตรการสร้างแรงจูงใจให้ทันตบุคลากรทุกระดับ โดยเฉพาะเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
50
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ
NCD DM/HT จังหวัดและอำเภอ บริหารจัดการระบบโดย NCD board และ NCD system manager - NCD clinic ผ่านเกณฑ์คุณภาพ พัฒนาบุคลากร : NCD system management team , case/care manager และอื่นๆตามบริบท - พัฒนาเครือข่ายคลินิก NCD คุณภาพ ขยายสู่ระดับรพสต.
51
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ
NCD STROKE พัฒนาให้ทุกเครือข่ายบริการ มีรพ.แม่ข่าย ที่ให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ -พัฒนา รพ A ให้มีหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองทุกเครือข่ายบริการ(stroke unit) - กำหนดตำแหน่งบุคลากร สำหรับ SU ,SFT สนับสนุนให้สามารถเบิก เงินเพิ่มพิเศษสำหรับพยาบาล และค่าห้องของผู้ป่วยเพิ่มจากปกติ
52
สาขา เป้าหมายบริการ ข้อเสนอ
NCD DM/HT COPD - รพ. ระดับ A - F มีบริการ COPD Clinic รพ. ระดับ A - F1 มีบริการตรวจสมรรถภาพปอด ด้วยเครื่อง Spirometry - รพ. ทุกระดับ มีบริการเพื่อการเลิกบุหรี่ เพิ่มศักยภาพ รพ.ระดับ M2/F1 ให้ดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจได้
53
ข้อซักถาม
54
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.