ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยWitsanunat Panyarachun ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล
2
ทบทวนความสำเร็จนโยบายปี 54และกำหนดนโยบายตังชี้วัดสำคัญ ปี 55 นโยบายปี 54 ตัวชี้วัดผลสำเร็จ พัฒนาระบบส่งต่อและรับกลับ อย่างเป็นรูปธรรม A4 ระดับความสำเร็จในการ พัฒนาระบบส่งต่อและรับกลับ อย่างเป็นรูปธรรม มีการพัฒนาระบบส่งต่อและ รับกลับอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น แต่ยังต้องมีการพัฒนาความ ร่วมมือและสร้างภาคีเครือข่าย ร่วมกัน กองทุนหลักประกันสุขภาพ ชุมชน ( กองทุนตำบล ) มีการ ดำเนินงานที่สอดคล้องกับปัญหา สุขภาพของพื้นที่ A5 ระดับความสำเร็จของ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ของ กองทุนหลักประกันสุขภาพ ชุมชนที่สอดคล้องกับปัญหา สุขภาพของพื้นที่ ท้องถิ่นต่างๆ ได้เข้าร่วมจัดตั้ง กองทุนตำบลครอบคลุม ท้องถิ่น ทั้งหมด 98 แห่ง สมัครกองทุน 94 คิดเป็นร้อยละ 95.92 หน่วยงานควรส่งแผนให้ทัน การพิจารณาของกองทุนแต่ละ แห่ง หน่วยบริการมีการตรวจสอบ ชดเชย (Coding Audit) F16 ร้อยละความสำเร็จของ การตรวจสอบชดเชย (Coding Audit) หน่วยบริการสามารถ ตรวจสอบชดเชยได้ แต่ต้อง พัฒนาทีม Internal Audit และ เพิ่มการวิเคราะห์เชิงลึก (CMI) ต่อไป
3
ทบทวนความสำเร็จนโยบายปี 54 และกำหนดนโยบายตังชี้วัด สำคัญ ปี 55 ประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร์Road Mapนโยบายตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ ที่ 3 พัฒนาระบบ บริการสุขภาพ เพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมี หลักประกัน สุขภาพ สามารถ เข้าถึงปริการ สุขภาพ ที่มี คุณภาพ มาตรฐานสากล 1. พัฒนาระบบ บริการของหน่วย บริการให้ได้ มาตรฐานสากล พัฒนาคุณภาพ ระบบบริการ เพื่อให้ประชาชน ได้รับบริการที่มี คุณภาพตาม มาตรฐาน อย่าง ทั่วถึงและเป็น ธรรม 1. หน่วยบริการ ตามระบบ หลักประกันสุขภาพ ทุกแห่ง มีการพัฒนา ความร่วมมือและ สร้างภาคีเครือข่าย ร่วมกันเพื่อพัฒนา ระบบส่งต่อ (Function)
4
นำเสนอTemplate Function
5
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนในจังหวัดชลบุรีมีหลักประกัน สุขภาพ สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ชื่อตัวชี้วัด F5 หน่วยบริการตามระบบหลักประกันสุขภาพทุกแห่งมี การพัฒนาความร่วมมือและสร้างภาคีเครือข่ายร่วมกันเพื่อพัฒนา ระบบส่งต่อ คำอธิบายตัวชี้วัด : นิยาม –หน่วยบริการตามระบบหลักประกันสุขภาพทุกแห่ง หมายถึง หน่วยบริการและเครือข่ายที่ขึ้น ทะเบียนตามระบบหลักประกันสุขภาพ ปี 2555 กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ และจัดตั้งคณะทำงาน อย่างชัดเจน 2. มีแนวทางการพัฒนาระบบส่งต่ออย่างต่อเนื่อง เกณฑ์ชี้วัดเชิงคุณภาพ ระดับเกณฑ์การให้คะแนนคะแนน 1 มีแผนงานหรือโครงการเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเชื่อมโยงเครือข่าย 20 2 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบส่งต่อและรับกลับ และมีการจัดประชุมอย่าง ต่อเนื่อง 20 3 มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานภายในเครือข่ายและระหว่างเครือข่าย - สรุปการประชุมและมีแนวทางในการดำเนินงานและพัฒนาอย่างต่อเนื่องมีผลการ ดำเนินงานสามารถลดข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับระบบส่งต่อ - สรุปผลการดำเนินงานลดข้อร้องเรียน 15 4 มีการปรับปรุงพัฒนา และมีแนวทางในการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม - มีคู่มือแนวทางการดำเนินงานและระบบการส่งต่อและรับกลับ อย่างชัดเจน 15 5 - มีทะเบียนส่งต่อและทะเบียนรับคนไข้กลับ 15
6
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนในจังหวัดชลบุรีมีหลักประกัน สุขภาพ สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ชื่อตัวชี้วัด F5 หน่วยบริการตามระบบหลักประกันสุขภาพทุกแห่งมีการ พัฒนาความร่วมมือและสร้างภาคีเครือข่ายร่วมกันเพื่อพัฒนาระบบ ส่งต่อ คำอธิบายตัวชี้วัด : นิยาม – ไม่ถูกปฏิเสธการส่งต่อและรับกลับ ( จำนวนราย ) X 100 การส่งต่อและรับกลับทั้งหมด ( จำนวนราย ) กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ และจัดตั้งคณะทำงาน อย่างชัดเจน 2. มีแนวทางการพัฒนาระบบส่งต่ออย่างต่อเนื่อง เกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณ ระดับเกณฑ์การให้คะแนนคะแนน 1 71-80 2 81-90 3 91-100 4 91-100 และไม่มีเรื่องร้องเรียน 5 ผ่านระดับ 4 และมี Best Practice
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.