งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก

2 บรรณานุกรม ความหมายของสารเสพติด ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามการ ออกฤทธิ์
ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามกฎหมาย ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามแหล่งที่มา

3 ความหมายของสารเสพติด
ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวันละ หลาย ๆ ครั้ง Menu Next

4 ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามการออกฤทธิ์
จำแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น ๔ ประเภท 1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ เฮโรอีน ฝิ่น มอร์ฟีน ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมา สารระเหย ยาระงับประสาทเป็น ต้น ผู้ที่เสพจะมีร่างกายผอม ซูบซีด อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน มึนงง ง่วงซึม บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง Beak Next Menu

5 2. ประเภทกระตุ้นประสาท Menu
ได้แก่ ยาบ้า โคเคน ใบกระท่อม ยาอี บุหรี่ คาเฟอีน เป็นต้น ผู้ที่เสพติดจะประสาทตื่นตัว ไม่ง่วง นอน กระวนกระวาย จิตสับสน หวาดระแวง  หรือมีอาการทางประสาท Beak Menu Next

6 3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอล เอส ดี (L.S.D.) ดี เอ็ม ที (D.M.T.) เห็ดขี้ควาย ยาเค เป็นต้น ผู้ ที่เสพติดจะเกิดประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพแปลกๆ เช่น ภาพที่น่าเกลียดน่ากลัว ภาพที่สวยงามวิจิตรพิสดาร Beak Next Menu

7 4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ได้แก่ กัญชา ผู้ที่เสพติดจะมีอาการเคลิบเคลิ้ม ประสาท หลอน เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิดสับสน และเป็น โรคจิตในที่สุด Beak Menu Next

8 ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามแหล่งที่มา
1. จากธรรมชาติ เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา ฯลฯ 2. จากการสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน ยาอี เอ็คตาซี ฯลฯ Beak Next Menu

9 ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามกฎหมาย
1. พ.ร.บ.ยาเสพ ติดให้โทษ พ.ศ เช่น แอมเฟตามีน เฮโรอีน LSD ยาอี ฯลฯ 2. พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตใจและประสาท พ.ศ เช่น อีเฟดรีน 3. พระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ เช่น ทินเนอร์ กาว แล็กเกอร์ Beak Menu Next

10 บรรณานุกรม =article&id=8&Itemid=18 Beak Menu


ดาวน์โหลด ppt สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google