ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSuphatra Thabchumpon ได้เปลี่ยน 7 ปีที่แล้ว
1
รายงาน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย นางสาวนุชนาถ อ่วมอ่อน รหัสนักศึกษา สาขาวิชา สาธารณสุขชุมชน หมู่ 3
2
ภูมิใจเสนอ
3
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
4
ในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ. ศ
ในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ ให้ความหมาย ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่าเป็น ธุรกรรมที่กระทำขึ้นโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
5
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: Electronic commerce) หรือ อี คอมเมิร์ซ (e-Commerce) [1] หมายถึง การทำธุรกรรมผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถกระทำ ผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการห่วงโซ่ อุปทาน การโฆษณาในอินเทอร์เน็ต แม้กระทั่งซื้อขายออนไลน์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการ ลดบทบาทของความสำคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงาน ขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้นจึงลด ข้อจำกัดของระยะทางและเวลา ในการทำธุรกรรมลงได้
6
เทคโนโลยีสารสนเทศที่รุดหน้า ทั้งระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทำให้การสื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และสามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลายระดับ อีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที ทำให้สามารถเสนอธุรกรรมที่หลากหลาย เช่น การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชำระค่าบริการสินค้า การขนส่ง เป็นต้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาคุ้มครองเรื่องความปลอดภัย และยังมีกฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เข้ามาให้ความคุ้มครองด้วยในเรื่องของการเงิน
7
ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Text document with red question mark.svg บทความนี้หรือส่วนนี้ อาจเป็นงานค้นคว้าต้นฉบับ คุณสามารถช่วยพัฒนาวิกิพีเดีย โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงที่เหมาะสมเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง ดูรายละเอียดในหน้าอภิปราย
8
ข้อดี ประหยัดค่าใช้จ่ายเพื่อการเดินทางไปซื้อสินค้า เพียงแค่เลือกซื้อผ่านเว็บไซต์เท่านั้น ประหยัดเวลาในการติดต่อ แค่ใช้เวลาไม่นานแค่เพียงไม่กี่วินาทีเราก็สามารถติดต่อซื้อสินค้าได้ การเปิดร้านค้าในอินเทอร์เน็ตเป็นการขยายตลาดสู่ทั่วโลก ไม่จำกัดเฉพาะแค่ในประเทศ และยังทำให้ผู้บริโภคมีตัวเลือกในการได้เลือกซื้อสินค้ามากยิ่งขึ้น ผู้ขายสามารถเปิดร้านได้ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมงไม่มีวันหยุด และผู้บริโภคก็สามารถซื้อสินค้าได้ทุกวัน
9
ข้อเสีย ผู้ซื้ออาจไม่แน่ใจว่าสั่งซื้อแล้วจะได้รับสินค้าจริง หรือได้รับสินค้าที่ไม่เป็นไปตามคาดหวัง หรือสินค้าชำรุดเสียหายหรือสูญหาย สินค้าอาจเป็นสินค้าที่ไม่ผ่านการทดสอบ หรือสินค้าไม่มีคุณภาพ เสี่ยงต่อการถูกฉ้อโกง หรือถูกโกงราคาหรือถูกหลอกลวงได้ง่าย ข้อมูลสินค้าบางอย่างอาจมีการโอ้อวดคุณภาพสินค้าเกินจริง โดยที่เราไม่สามารถตรวจสอบได้ ในระบบกฎหมายของไทย ยังไม่มีการให้ความคุ้มครองอย่างทั่วถึงเพียงพอ ความปลอดภัยในข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตจึงยังไม่ปลอดภัยพอ
10
การจดทะเบียนผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนผู้ประกอบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ (DBD Registered) เพื่อยืนยันการมีตัวตนของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการซื้อ ขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือ ย่ายอินเทอร์เน็ต บริการอินเทอร์เน็ต ให้เช่าพื้นที่ของเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือ บริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต จะต้องไปจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยใน เขตกรุงเทพมหานคร สามารถจดทะเบียนพาณิชย์ได้ที่สำนักงานเขต ที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร สำหรับภูมิภาค สามารถจดทะเบียนพาณิชย์ได้ที่องค์การบริหารส่วน ตำบลหรือเทศบาล โดยเว็บไซต์ที่จดทะเบียนแล้ว จะปรากฏ เครื่องหมาย Registered อยู่บนหน้าเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้บริโภค สามารถตรวจสอบสถานะและการมีอยู่จริงของผู้ประกอบการ และ รายชื่อผู้ประกอบการทั้งหมดจะรวบรวมอยู่ในฐานข้อมูลผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า
11
เครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือในการประกอบ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (DBD Verified) เพื่อรับรอง มาตรฐานการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ดี สร้างความน่าเชื่อถือให้กับผู้ประกอบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ไทย และเสริมสร้างความมั่นใจให้กับ ผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าและใช้บริการผ่านทาง อินเทอร์เน็ตซึ่งผู้ประกอบการสามารถขอเครื่องหมายฯ ผ่านหน้าเว็บไซต์ โดยไม่ต้อง เสียค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ประกอบการที่จะได้รับเครื่องหมาย ฯ จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน และผ่านหลักเกณฑ์ ตามที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากำหนดซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวได้ อ้างอิงจากมาตรฐานระหว่างประเทศ เพื่อให้เป็นสากล และยอมรับอย่างแพร่หลาย
13
ประโยชน์ของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1. ประโยชน์ต่อผู้บริโภค 1) ได้รับความสะดวกรวดเร็วในการซื้อสินค้า 2) มีช่องทางในการเลือกซื้อสินค้าและบริการมากขึ้น 3) มีสินค้าและบริการให้เลือกซื้อมากขึ้น 4) ทำให้ราคาสินค้าและบริการถูกลง เพราะไม่ต้องผ่านคนกลาง 5) ได้รับสินค้าเร็วขึ้น 6) มีข้อมูลเพื่อใช้เปรียบเทียบราคาและคุณภาพก่อนการตัดสินใจซื้อ
14
ประโยชน์ต่อผู้ผลิต 1) สามารถเพิ่มช่องทางในการจัดจำหน่ายได้มากขึ้น 2) สามารถขยายตลาดใหม่ได้มากขึ้น 3) สร้างความสัมพันธ์กับผู้บริโภคได้มากขึ้น 4) ลดค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บเอกสาร 5) เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพราะรู้ข้อมูลความต้องการของผู้บริโภค
15
1) เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานและการขาย
ประโยชน์ต่อผู้จัดจำหน่าย 1) เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานและการขาย 2) สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลก 3) เพิ่มยอดขายได้มากขึ้น 4)ลดต้นทุนและเวลาในการจัดจำหน่าย 5)สร้างความเท่าเทียมกันในผู้จำหน่ายรายย่อยและราย ใหญ่ 6)ลดค่าใช้จ่ายในการเป็นสินค้าจัดเก็บ เพราะสามารถลด จำนวนสินค้าคงคลังลง 7)สามารถโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าได้กว้างขวางขึ้น 8)สามารถทำตลาดและให้บริการกับลูกค้าเป็นรายบุคคลได้
17
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.