งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบและกลไกเขตสุขภาพ กรณีศึกษาเขตพื้นที่บริการสุขภาพที่ 5. ( ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบและกลไกเขตสุขภาพ กรณีศึกษาเขตพื้นที่บริการสุขภาพที่ 5. ( ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบและกลไกเขตสุขภาพ กรณีศึกษาเขตพื้นที่บริการสุขภาพที่ 5. ( ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )

2 Contents แนวคิด กิจกรรมที่ได้ดำเนินการจริง ปัญหา ที่พบ สิ่งที่ได้เรียนรู้ – สถานการณ์ ด้านการวางแผนเขต สุขภาพ & การบริหารจัดการข้อมูล – เปรียบเทียบการดำเนินงานก่อน / หลัง – โอกาสพัฒนา / สิ่งที่อยากพัฒนา

3 WHO – 6 Building Blocks

4 Leadership 1.Intelligence and Oversight 2.Policy Guidance. 3.Design System 4.Regulate 5.Collaborate & Coalition Build 6.Accountability Information Knowledge Information Knowledge Professional

5 กิจกรรม ช่วงแรกของโครงการ 3 กันยายน 2556 ประชุม เพื่อหยั่งเสียง ที่จังหวัดสมุทรสงคราม – จังหวัดมีความสนใจโครงการมากน้อยเพียงไร – มีประเด็นที่จะปรับปรุงอะไรบ้าง 3-4 มิ. ย.57 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนา ระบบการประมวลผลและนำเสนอข้อมูลเพื่อ พัฒนาระบบข้อมูลด้านสุขภาพโดยใช้โปรแกร I analysi นักวิชาการและนัก IT 8 จังหวัด ชี้เยวกับ โครงการ การใช้ i analysis เพื่อ 13 สิงหาคม 2557 ประชุม contents เกี่ยวกับ เรื่องแม่และเด็ก

6 Progress ของการนำ I analysis ไป ใช้ ตั้ง Server เพื่อรองรับข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ ได้ข้อมูล 2 จังหวัด เพชรบุรี และนครปฐม เปิด line group i analysis วางแผนพัฒนา IT ทั้ง 8 จังหวัด ในการศึกษา โปรแกรม Pentaho และการสร้าง Data ware house เนื่องจากเขตมีนโยบายว่าจะใช้ HI IMS จึงให้ชะลอ i analysis เพราะซ้ำซ้อนกับ HIIMS ทำให้จังหวัดที่ เหลือไม่ส่งข้อมูลเข้ามาเก็บที่ Server และจังหวัด ที่ส่งมาแล้วก็ไม่ Update เมื่อเวลาผ่านไป ผลสรุปของคณะกรรมการ IT เขต คือ ให้ศูนย์ พัฒนานัก IT ให้สามารถใช้ I Analysis แทนการส่ง ข้อมูล ถ้าใช้สะดวก แต่ละจังหวัดจะนำไปใช้เอง

7 CPI-PP (i analysis)

8 CPI-PP output

9 ระบบข้อมูลที่เขตสุขภาพที 5 พัฒนา

10 ตัวอย่างของ Output จาก HIIMS

11 HIIMS คือ Utility ที่คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ เขตใช้ เพื่อดึงข้อมูลของเขตนำมาวิเคราะห์ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของเขต ประกอบด้วยนัก IT ของทุกจังหวัดในเขต มา ช่วยกันเขียนชุดคำสั่ง เพื่อนำข้อมูล 21/43 แฟ้ม มาทำการวิเคราะห์ เวลานำไปใช้งานจริงก็มีปัญหาเนื่องจาก รพ. ต่างๆ / รพ. สต. Key ข้อมูลไม่ครบถ้วน ส่งผลให้ ตัวเลขความครอบคลุมต่างๆ ต่ำ เช่น การได้รับ Vaccine ประมาณ 30% ซึ่งทางจังหวัดและผู้ นิเทศ ก็ไม่ได้ใช้ตัวเลขนี้ เพราะถ้าใช้ผลงานจะ ต่ำกว่าเป้าหมายอย่างมาก

12 1. การสนับสนุนเขตสุขภาพ 2. ประเภทของข้อมูล สถานการณ์

13 การสนับสนับสนุนเขตสุขภาพ ProcessInformation วิจัย / ทบทวน วรณกรรม การกำหนด ปัญหา ++++ มาตรการใน การแก้ปัญหา Distribution ++ Determinant + + เป้าหมาย /KPI ++++ วางแผน สุขภาพเขต / งบประมาณ +++ M&E ++++

14 ประเภทข้อมูลที่ใช้ Type of Data หน่วย บริการ ศูนย์ วิชาการ Report++++0 Surveillance System + ( รง 506) 0 Rapid Survey-+ Research (Review)++ Research ที่ทำเอง น้อยมาก 1 เรื่อง ถ้ายกเลิกระบบรายงาน จะหาข้อมูลจากไหนเพราะส่วนใหญ่ใช้ Report

15 Hierarchy of data Type of Data ระบบ รายงาน ระบบ อื่นๆ วิธีที่ควร ใช้ 1.Outcome+++++/-Survey 2.Intermediate outcome เช่น พฤติกรรมเสี่ยง / สวล เสี่ยง ++/-Survey 3.Process indicator+++++/-Report 4.Input or Activity+++++/-Report

16 1. การพัฒนาแหล่งข้อมูล / ความรู้ที่ หลากหลาย 2. การร่วมกับเขตในการวางแผน แผน สุขภาพเขต 3. การ M&E เปรียบเทียบการดำเนินงาน ก่อนหลัง

17 การพัฒนาแหล่งข้อมูล / ความรู้ ที่ หลากหลาย ก่อนหลัง 1.Report++++ 2.Report Synthesis เพื่อให้สามารถ เปรียบเทียบแนวโน้ม / ระหว่างพื้นที่ / จังหวัด / เขต ++ 3. การดึงข้อมูลจาก Data warehouse มาทำ Report ที่ช่วยในการชี้เป้าได้ 0i-Analysis ( ติด ปัญหา ) 4.Review++ 5.Research+/- 1 เรื่อง 6.Survey+/- 7.Surveillance+/- Research ในพื้นที่ 1 เรื่อง ดูปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยใช้เงินจากเขต ข้อเสนอแนะการวิจัย เป็นข้อเสนอแนะที่เขตนำไปใช้

18 การวางแผนเขตสุขภาพ ก่อนหลัง 1. อธิบายให้เห็น Alignment แผน จากส่วนกลางมายังเขต ++ 2. สถานการณ์ในพื้นที่ + ++ ( ตั้งใจจะ ทำ ) 3. ข้อมูลชี้เป้า (Key Activity /Key Area) + ++( ตั้งใจจะ ทำ ) 4. ร่วมกันจัดทำแผนเขต / แผน งบประมาณ ++ 5. ทำ / อธิบาย Guide line / Standard ให้กับพื้นที่เพื่อให้ เข้าใจตรงกัน ++

19 M&E กิจกรรมที่ทำก่อนหลัง 1. ดูผลการดำเนินงานตาม KPI ++++ 2. ลงพื้นที่ เพื่อให้ทราบ สถานการณ์จริง ++ เฉพาะวัน นิเทศ 3. คืนข้อมูล / ชี้เป้า เพื่อให้พื้นที่ กำหนดวิธีการ Response อย่าง เหมาะสม ++ ++ ( ตั้งใจจะ ทำ ) 4. หาจุดอ่อนของระบบเพื่อ กำหนดมาตรการ / วิธีแก้ไขหรือ ปรับปรุง ++ 5. ติดตามผลการดำเนินงาน ตามข้อ 4 + + ( ตั้งใจจะ ทำ ) 6. สรุปผลเพื่อหา Lesson Learn + + ( ตั้งใจจะ ทำ )

20 1.ROLE/FUNCTIONS PRIORITIZATION 2.CAPACITY BUILDING ครอบคลุม KAP 3.ORGANIZATION STRUCTURE ? OFI (Opportunity for Improvement)

21 Role/Function Prioritization for NHA Role/Function เดิมใหม่ 1.National Lead++++ 2.Surveillance/Survey++++ 3.Model Development & Technology Assessment วิจัยแยกส่วน นำมาใช้ได้ จริงน้อย จัดระบบการวิจัย เพื่อให้ Actors ต่างๆ นำไปใช้ได้จริง 4. Technical Support / เผยแพร่ความรู้ เป็นวิทยากร เป็นเรื่องๆ System /IT base 5. ประเมินมาตรฐาน CB ลด CB มาทำ SB/AD 6.M&E passive ตาม ผู้ตรวจ Active กำหนดเอง ด้วย ตามผู้ตรวจด้วย SB=Standard Body, AB = Accreditation Body,CB=Certified Body

22 Capacity Building เดิมใหม่ 1.Knowledge Scope Process Issue base Training System Base/ ลงลึก ได้ Learning 2.Attitude Depth Approach Change Level Specialist Issue approach Perception Generalist System Approach Transformation 3.Practice ระบาดวิทยา IT ทฤษฏีโนสุปฏิปัณโณ 4.Career path แต่ละ C ไม่ แตกต่าง มีความแตกต่างใน แต่ละ C

23 Organization Structure Change ? ข้อดี ข้อเสีย 1. ตาม Age Group & Issues 1. คุ้นเคย 2. ผู้รับผิดชอบมี ความชำนาญตาม สายอาชีพ 3.Provider ก็ใช้ approach แบบนี้ 1.Finction ในแต่ละ NHA ขาด Focal Point 2. ตาม NHA Function 1. มีผู้รับผิดชอบใน แต่ละ Function ของ NHA ชัดเจน 2. กำหนด Trianning need ได้ชัดเจน 3.NHA ควรใช้แบบนี้ 1. หาผู้รับผิดชอบ age group / Issues ไม่ได้ 2. หาผู้รับผิดชอบสาย อาชีพนี้ไม่ได้ ถึงได้ก็ ใม่รู้เรื่อง health 3.Combine นำข้อดี อุดข้อเสียใช้คนมาก


ดาวน์โหลด ppt ระบบและกลไกเขตสุขภาพ กรณีศึกษาเขตพื้นที่บริการสุขภาพที่ 5. ( ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google