ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKarawek Jatusripitak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
A Case Report and Incidence of Physically Abused Children Police General Hospital Pol.Col. Chanthana Vitavasiri M.D. Pol.Maj. Ubol Chumjinda
2
Physical Abuse An injury to a child caused by a caretaker for any reason, including injury resulting from a caretaker’s reaction to an unwanted behavior. Definition
3
รายงาน ผู้ป่วย 1 ราย เด็กหญิงไทยอายุ 10 ปี ภูมิลำเนา กรุงเทพ ฯ อาการสำคัญ : ถูกทำร้าย ร่างกาย 2 ปี ประวัติปัจจุบัน : ถูกป้าทำร้าย ร่างกายตั้งแต่อายุ 8 ปี ทุบด้วย ของแข็ง ไม้ หรือ ค้อน และใช้มีด ลนไฟนาบตามตัว เวลาโกรธ รุนแรงมากขึ้น จนเพื่อนบ้านแจ้ง ตำรวจ
4
ประวัติ อดีต - ผู้ป่วยเป็นบุตรคนที 3 พี่ชาย พี่สาวอยู่กับ ป้าบ้านเดียวกัน - ผู้ป่วยอยู่กับปู่จนอายุ 3 ปี ปู่เสียชีวิต มา อยู่กับพ่อแม่ที่กรุงเทพ - อายุ 6 ปี พ่อกับแม่แยกทางกัน แม่ พี่และ ผู้ป่วยมาอาศัยอยู่กับป้า - อายุ 8 ปี แม่ตายด้วยโรคหัวใจ ป้าใช้ให้ ทำงานบ้าน และทุบตีเวลา ทำไม่ถูกใจ
5
การตรวจ ร่างกาย สูง 129 ซม. น้ำหนัก ตั ว 24.4 ก. ก. Temp. 37.7 C B.P. 103/46 mmHg Pulse 86 /mim. Resp. 24/min.
11
Diagnosis : Physical Abuse การดูแล รักษา บาดแผล ตรวจจิตเวช การสงเคราะห์ หรือคุ้มครอง ติดตาม
12
อุบัติการณ์ทารุณ กรรมทางร่างกายเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี รพ. พต. วิธี การศึกษ า ศึกษาย้อนหลังจากเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก รพ. พต. กลุ่มเด็ก เยาวชน และสตรีที่ถูก ทำร้ายร่างกาย ระหว่าง 1 ม. ค.2544-31 ธ. ค. 2544
13
จำนวนเด็ก เยาวชน สตรีที่ ถูกทำร้ายร่างกาย ระหว่าง 1 ม. ค.2544-31 ธ. ค.2544 จำนวน อายุ
14
ผู้ป่ว ย เพ ศ อายุผู้พามาแจ้ ง ผู้กระทำลักษณะที่ทำ ร้าย ความ รุนแรง 4 ด.ญ.ด.ญ. 4 แม่ พี่ชายผลักตกที่สูงฟกช้ำ 5 ด.ช.ด.ช. 4 แม่ หลานแม่ก้อนหินทุบช้ำ 11 ด.ช.ด.ช. 14 เพื่อน พ่อเลี้ยงฟันเย็บ แผล 15 ด.ญ.ด.ญ. 4- แม่มีดฟันเย็บ แผล 16 ด.ญ.ด.ญ. 14 มาเอง นายจ้างทุบ ถีบ ตี ขู่ ด้วยงู ฟกช้ำ 17 ด.ญ.ด.ญ. 14 มาเอง นายจ้างทุบ ถีบ ตี ขู่ ด้วยงู ฟกช้ำ 21 ด.ช.ด.ช. 5- แม่ตบตีฟกช้ำ 22 ด.ญ.ด.ญ. 4 ½ ยาย พ่อเลี้ยงตีไม้แขวน เสื้อ ฟกช้ำ 26 ด.ช.ด.ช. 7 ผู้ปกครอ ง ครูตีกลางหลังฟกช้ำ 30 ด.ช.ด.ช. 10 มูลนิธิป วีณา ป้าตี. ชกฟกช้ำ 32 ด.ช.ด.ช. 3- น้าเขยตบหน้าฟกช้ำ 34 ด.ญ.ด.ญ. 1 4/1 2 ป้า พ่อเลี้ยงชกตาซ้ายฟกช้ำ 12 ราย เป็นเด็กที่เข้ากับหลักเกณฑ์ Physical Abuse
15
วิจารณ์
20
หน้าที่ของ แพทย์ 1. ป้องกันและปกป้องผู้ป่วย 2. หาสาเหตุการเจ็บป่วย หรือถูกทำร้ายให้พบ 3. ให้การบำบัดรักษา และ ป้องกันโรค 4. ฟื้นฟูให้คืนสู่สภาพกาย ใจที่ปกติ 5. ให้การบำบัด “ ผู้กระทำ ”
21
พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก มาตรา 29 ผู้ใดพบเห็นเด็ก ตกอยู่ในสภาพจำต้องได้รับ การสงเคราะห์หรือคุ้มครอง จะต้องให้การช่วยเหลือ เบื้องต้น และแจ้งต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่ คุ้มครองเด็กโดยมิชักช้า
22
สรุ ป รายงานผู้ป่วยถูกทารุณกรรม ทางร่างกาย 1 ราย อุบัติการณ์เด็กถูกทารุณกรรม ทางร่างกาย รพ. พต. เท่ากับ 35.8% ของเด็กที่บาดเจ็บจาก การถูกทำร้ายร่างกาย เด็กหญิงเท่า ๆ กับเด็กชาย บาดเจ็บไม่มาก
23
รักวัวให้ผูก รัก ลูกให้กำลังใจ ขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.