ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยParun Maneerattana ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ไบโอม (biomes) ว 30103 ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา
ว ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา โรงเรียนพิบูลมังสาหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
2
ไบโอม ไบโอม (biomes)
3
ไบโอม (biomes) ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ
ไบโอม หรือ ชีวนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มี องค์ประกอบของ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น พืชและสัตว์ที่คล้ายคลึงกัน กระจัดกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ กัน
4
ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes)
ประเภทของไบโอม ไบโอมบนบก (terrestrial biomes) 2. ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes)
5
1. ไบโอมบนบก 1.2 ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น 1.3 ป่าสน
1. ไบโอมบนบก ใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกำหนด ป่าดิบชื้น 1.2 ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น 1.3 ป่าสน 1.4 ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น 1.5 สะวันนา 1.6 ทะเลทราย 1.7 ทุนดรา
6
ไบโอมบนบก (terrestrial biomes)
7
ป่าดิบชื้น tropical rain forest
8
ป่าดิบชื้น tropical rain forest
เป็นป่าใกล้เส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชียตอนใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก ภูมิอากาศร้อนและชื้น มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย cm./ปี มีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก พืช - สัตว์นับพันสปีชีส์ พืชเด่น : ไม้เถา หวาย เฟิร์น กล้วยไม้ ตัวอย่างในไทย ป่าฮาลา – บาลา นราธิวาส
9
ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest)
10
ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest)
เป็นป่าในเขตละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย cm./ปี ต้นไม้มีการผลัดใบ พืชเด่น : ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ก ตัวอย่างในไทย ทุ่งแสลงหลวง พิษณุโลก
11
ป่าสน (coniferous forest)
12
ป่าสน (coniferous forest)
ป่าไทกา (Taiga) และป่าบอเรียล (Boreal) มีต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี พบที่ตอนใต้แคนาดา ตอนเหนือทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป เขตละติจูด 45 – 67 องศาเหนือ ภูมิอากาศมีฤดูหนาวยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง พืชเด่น : สน เช่น ไพน์ (pine) เฟอ (fir) สพรูซ (spruce) เฮมลอค (hemlock) บลูเบอรี ตัวอย่างในไทย ภูสอยดาว อุตรดิตถ์
13
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland)
14
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland)
ทุ่งหญ้าแพรี่ (prairie) ทวีปอเมริกาเหนือ ทุ่งหญ้าสเตปป์ (steppes) รัสเซีย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25 – cm./ปี เหมาะทำกสิกรรม และ ปศุสัตว์ พืชเด่น : ทานตะวัน ไอริส ดอกไม้ป่ารานันคูลัส หญ้า
15
สะวันนา (savanna)
16
สะวันนา (savanna) เป็นทุ่งหญ้าในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย ตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ภูมิอากาศร้อน มักมีไฟป่า พืชเด่น : หญ้าต่างๆ ตัวอย่างในไทย ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก
17
ทะเลทราย (desert)
18
ทะเลทราย (desert) พื้นที่ที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 25 cm./ปี
ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคริฟอร์เนีย U.S.A พืชเด่น : กระบองเพชร อินทผาลัม
19
ทุนดรา (tundra)
20
ทุนดรา (tundra) มีฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน ชั้นดินที่ต่ำจากผิวดินชั้นบนจับตัวเป็นน้ำแข็งอย่างถาวร พบทางตอนเหนือทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเชีย พืชเด่น : ไม้ล้มลุกจำพวกไม้ดอก หญ้าต่างๆ แห้วทรงกระเทียม มอส ไลเคน
21
2.1 แหล่งน้ำจืด 2.2 แหล่งน้ำเค็ม
2. ไบโอมในน้ำ 2.1 แหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำเค็ม
22
ไบโอมในน้ำ (aquatic biomes)
23
แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes)
24
แหล่งน้ำจืด (ต่อ)
25
แหล่งน้ำจืด (freshwater biomes)
มีเกลือน้อยกว่าร้อยละ 0.1 หรือน้อยกว่า 1 ppt ประกอบด้วย แหล่งน้ำนิ่ง : สระ หนอง บึง ทะเลสาบ แบ่งออกเป็น 3 บริเวณ : ชายฝั่ง (littoral zone) ผิวน้ำ (limnetic zone) และน้ำชั้นล่าง (profundal zone) แหล่งน้ำไหล : ธารน้ำไหล แม่น้ำ แบ่งออกเป็น 2 บริเวณ (Zone) : น้ำไหลเชี่ยว (rapid zone) และแอ่งน้ำ (pool zone)
26
แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes)
27
แหล่งน้ำเค็ม (marine biomes)
มีปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก ( 3 ใน 4 ส่วน) มีความลึกเฉลี่ย 3,750 เมตร มีเกลือเฉลี่ยร้อยละ 3.5 หรือ 35 ppt ประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร
28
แหล่งน้ำเค็ม (ต่อ)
29
แหล่งน้ำเค็ม (ต่อ)
30
แหล่งน้ำเค็ม (ต่อ)
31
แหล่งน้ำกร่อย (Estuaries)
เป็นบริเวณรอยต่อระหว่างทะเลและแม่น้ำ ค่าความเค็มอยู่ในช่วงกว้างเนื่องจากกระแสน้ำขึ้นน้ำลง มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง เนื่องจากแม่น้ำพัดพาเอาธาตุเหล็ก ซิลิกา ฟอสเฟต และสารอินทรีย์มายังปากแม่น้ำ พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำสามารถนำธาตุอาหารไปใช้ เพื่อการเจริญเติบโตได้
32
แหล่งน้ำกร่อย (Estuaries)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.