ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPen-chan Chaiyachue ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
3
เครือข่ายแบบโทเคนริง (Token Ring) เป็น เทคโนโลยีเครือข่าย LAN ที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ในช่วงทศวรรษที่ 1970 ซึ่งต่อมา IEEE ได้นำมาเป็น แม่แบบในการพัฒนามาตรฐาน IEEE 802.5 ซึ่ง IEEE 802.5 หรือ โทเคนริง (Token Ring) จัดเป็นเครือข่ายที่ใช้ โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring) ด้วยสายคู่ตีเกลียวหรือ เส้นใยนำแสง อัตราการส่งข้อมูลของโทเค็นริงที่ใช้ โดยทั่วไปคือ 4 หรือ 16 Mbps กำหนดให้มีสถานีเชื่อมต่อ ได้ไม่เกิน 250 สถานี เครือข่าย LAN แบบโทเคนริงนั้น เหมาะกับงานที่ต้องการรับประกันอัตราความเร็วในการรับ / ส่งข้อมูล รวมทั้งงานที่ต้องการระบบความแน่นอนที่ สามารถใช้งานได้ดีอยู่แม้มีปัญหาเกิดขึ้นกับระบบ
5
แสดงลักษณะการเชื่อมต่อ เครือข่ายโทเคนริง เครือข่ายแบบ token ring เป็นระบบเครือข่าย แบบ LAN ซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอร์ต่อด้วย topology แบบ Ring ดังรูป และระบบเลขฐานสอง ( หรือ token) เป็นแบบ แผนการส่งที่ใช้ในการ ป้องกันการชนกันของ ข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ที่ต้องการส่ง message ในเวลาเดียวกัน
6
ลักษณะการทำงานโปรโตคอล ของ token ring เครือข่าย LAN แบบโทเคนริง ตามมาตรฐานของ IEEE นั้นกำหนดให้ ใช้โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring) โดย มีข้อมูลสื่อสารสั้นๆ ที่เรียกว่า โทเคน (Token) เป็นตัวกำหนดว่าเครื่องใด สามารถส่งข้อมูลได้ ( เฟรมบน เครือข่ายจะประกอบไปด้วยโทเคน และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจะเป็น ข้อมูลของผู้ใช้งาน หรือข้อมูลของ ระบบที่ใช้ในการควบคุมการจัดการ เครือข่ายแบบโทเคนริง ) โทเคนจะถูก ส่งให้วิ่งไปรอบๆ เครือข่าย ถ้าเครื่อง ใดสามารถครอบครองโทเคนได้จะ สามารถส่งข้อมูลได้
7
ลักษณะการทำงานโปรโตคอล ของ token ring หากเครื่องใดได้โทเคนแต่ไม่มีข้อมูลที่จะส่งก็จะ ผ่านโทเคนไปยังเครื่องอื่นที่อยู่ถัดไป ก่อนส่งข้อมูลบน เครือข่ายแบบโทเคนริงนี้ การชนกันของข้อมูลในขณะส่ง จะไม่เกิดขึ้น โทเคนที่ " ไม่ว่าง " ( โทเคนที่ถูกทำ เครื่องหมายว่ากำลังถูกใช้งานในการส่งข้อมูลอยู่ ) จะถูกส่ง ต่อไปรอบวงจนกระทั่งถึงเครื่องปลายทางที่กำหนดเป็น ผู้รับ เครื่องที่เป็นผู้รับจะทำการยืนยันว่าได้รับข้อมูลแล้ว โดยทำเครื่องหมายลงในโทเคนนั้น จากนั้นโทเคนก็จะ เดินทางไปจนถึงเครื่องต้นทางที่เป็นผู้ส่ง เครื่องที่เป็นผู้ส่ง ก็จะทำการลบข้อมูลที่ติดอยู่กับโทเคนนั้น แล้วตามด้วย การลบเครื่องหมายที่แจ้งว่า " ไม่ว่าง " ออกไป จากนั้นก็จะ ปล่อยโทเคนเป็นอิสระสู่เครือข่ายเพื่อให้เครื่องอื่นได้มี โอกาสใช้งานได้ต่อไป
8
ขั้นตอนการทำงานของ Token Ring Protocol 1. ส่ง information frame เปล่า ไปรอบ ring อย่างต่อเนื่อง 2. เมื่อมีคอมพิวเตอร์ตอบการส่ง message จะเพิ่ม token เข้าไปใน frame เปล่า ( ซึ่งบิตของ token ในเฟรมจะเปลี่ยนจาก "0" เป็น "1") และแทรก message และจุดหมายปลายทางใน frame 3. เมื่อ frame ได้รับการตรวจสอบโดยแต่ละ เวิร์กสเตชั่น โดยเวิร์กสเตชั่นที่เป็นปลายทางของ message จะก็อบปี้ message จาก frame แล้ว เปลี่ยน token กลับเป็น 0
9
ขั้นตอนการทำงานของ Token Ring Protocol 4. เมื่อ frame กลับไปที่จุดเริ่มต้น และเห็นว่า token เปลี่ยนเป็น 0 แล้ว ซึ่งแสดงว่ามีการรับ message ไปแล้ว จากนั้นจะมีการลบ message จาก frame 5. frame ดังกล่าวจะหมุนเวียนเป็น frame เปล่า ต่อไป พร้อมที่จะรับ message จากอุปกรณ์หรือ คอมพิวเตอร์ใหม่
10
จะมีขนาด 3 ไบต์ 1. ไบต์แรกกำหนดจุดเริ่มต้นของโทเคน (Start delimiter) 2. ไบต์ต่อมาคือ Access Control Byte จะเป็นไบต์ที่กำหนด ระดับความสำคัญ ( Priority) และค่า สงวนให้กับโทเคนของ เครือข่าย ระดับความสำคัญนั้นมีไว้เพื่อให้เครื่องบางเครื่อง บนเครือ ข่ายมีสิทธิพิเศษในการรับ / ส่งข้อมูลได้มากชึ้น ซึ่ง ปกติแล้วเครื่องทุกเครื่องจะมีค่ามาตรฐาน ของตนเองอยู่ค่า หนึ่ง แต่เครื่องที่มีค่านี้สูงกว่าเครื่องอื่นๆ ก็จะสามารถถือโท เคนในเครือข่าย เพื่อใช้ส่งข้อมูลได้ก่อน 3. ไบต์สุดท้ายเป็นตำแหน่งปิดท้ายจะเป็นตัวบ่งชี้จุดสิ้นสุด ของโทเคน (End delimiter) ขนาดของโทเคน
11
รูปแบบการเชื่อมต่อโทเคนริงเข้ากับ Hub ( เชื่อมเครือข่ายเป็น Token Ring) ในเครือข่ายโทเคนริงทุก สถานีจะเชื่อมต่อโดยตรงกับโท เคนริงฮับหรือ MSAU (Multi- Station Access Unit) ้ ดังนั้นจึง มีโทโปโลยีแบบต่างๆ ในหนึ่ง เครือข่ายอาจมีมากกว่าหนึ่งฮับ ก็ได้ ซึ่งถ้ามีมากกว่าหนึ่งฮับ ขึ้นไป การพ่วงต่อฮับต้อง เป็นไปใน รูปแบบวงแหวน (Ring) แสดงการเชื่อมต่อของโทเคนริง จากรูปคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อโดยตรงเข้ากับฮับ และแต่ ละฮับจะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อไปยังฮับที่อยู่ติดกันทำให้ การเชื่อมต่อเป็นวงแหวน (Ring)
13
จบการ นำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.