ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
ที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎ ระบบวิชาการเพื่อรับใช้สังคม สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
2
DR M.Wedgwood, Manchester Metropolitan University
Higher Education Drivers สังคม การแปลงความรู้เพื่อใช้ (Applications) การเรียนการสอนเพื่ออาชีพ LLL, Sector Skills, prof quals, employability, workforce education (Relevance) การเรียนการสอน การวิจัย การเรียนการสอนทางวิชาการ การวิจัยเชิงวิชาการ วิชาการ DR M.Wedgwood, Manchester Metropolitan University
3
1. การเรียนการสอน (Teaching) 3.การบริการสังคม (Social Engagement)
“งานวิชาการ” 2. การวิจัย (Research) 1. การเรียนการสอน (Teaching) 3.การบริการสังคม (Social Engagement) Evaluation
4
1. การเรียนการสอน เพื่อผลิตบัณฑิตรับใช้สังคม
ขาดตัวชี้วัดคุณภาพอุดมศึกษา ไม่รู้ว่าคุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่ ปัจจุบัน ใช้วิธีนับ “ตัวแทน (proxies)” ของคุณภาพ แนวโน้มในอนาคต คือการทดสอบการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของนักศึกษา เช่นโครงการ CLA (จะมีสัมมนา 22 เมย 54) การสำรวจผู้จ้างงาน (Employer Survey) การสำรวจบัณฑิต (Graduate Survey) การหนุนเสริมมหาวิทยาลัย/คณะวิชา ในการปรับเปลี่ยนหลักสูตร วิธีการเรียนการสอน เดนมาร์ก ควรประเมินว่า บัณฑิตเสียภาษีเท่าไรหลังจากจบออกไปทำงาน European Student Union เสนอให้ถามประสบการณ์นักศึกษา(NSSE) สหรัฐอเมริกา วิธีคิด เปลี่ยนจาก “เข้าไปรับการศึกษา” กลายเป็น “ซื้อบริการการศึกษา” เสนอให้ประเมินอัตราส่วนระหว่างเงินเดือนกับค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปการศึกษา โดยเฉพาะอาชีวศึกษา
5
2. การวิจัยเพื่อรับใช้สังคม
การวิจัยมีหลายประเภท(เพื่อวิชาการ เพื่อเศรษฐกิจ เพื่อสังคมและชุมชน และเพื่อนโยบาย) ใช้วิธีต่างๆกัน แต่ละประเภทคาดหวัง “ความสำเร็จ” ต่างกัน (ผลงานตีพิมพ์ สิทธิบัตร การใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม) แต่ละประเภทมีการ”รับรอง”ความสำเร็จต่างกัน (วารสารวิชาการ รายได้ ผลกระทบ) มหาวิทยาลัยต้องมี “ระบบนิเวศ” ที่เหมาะสมด้วย สร้างตัวชี้วัด “งานวิจัยเพื่อรับใช้สังคม” สร้างตัวชี้วัด “ระบบวิจัยของสถาบัน”
6
“ระบบวิจัย” Track 4: สังคมและชุมชน Track 1: นโยบาย Track 2:เศรษฐกิจ
มิติ 1: นโยบายและยุทธศาสตร์ มิติ 2: องค์กรสนับสนุนทุน มิติ 3: งบประมาณ มิติ 4: หน่วยทำวิจัย มิติ 5: บุคลากร มิติ 6: โครงสร้างพื้นฐาน มิติ 7: มาตรฐาน มิติ 8: การจัดการผลผลิต มิติ 9: การประเมิน
7
ปัญหาในระบบ ของงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม
ขาดการเชื่อมโยงสื่อสารระหว่างนักวิชาการกับผู้ใช้ ขาด KPI ในการกำกับดูแลนโยบายด้านนี้ ขาดเกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าของนักวิจัยด้านนี้ ขาดงบประมาณโดยเฉพาะสำหรับงานนี้ ขาดพื้นที่แลกเปลี่ยน ขาดตัวอย่าง ขาดสนามรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม ขาดการสนับสนุนการใช้ผลงานให้ถึงที่สุด คนในสังคมไม่เห็นประโยชน์และความคุ้มค่า ขาดความสนใจจากนักวิชาการ ส่วนใหญ่สนใจเนื้อหาหรือทฤษฎีที่เรียนมา
8
3. การบริการสังคม (Social Engagement – USR)
เช่น เพิ่ม การให้คำปรึกษา ฝึกอบรม บริการวิเคราะห์ ทดสอบ Technology Transfer, LLL ลด การปล่อยมลพิษ การใช้พลังงาน การใช้วัสดุ ดูแล การจ้างงานข้างนอก (Labour Practices) การทำธุรกิจ (Business Practices) สิทธิของนักศึกษา เปิดเผย ข้อมูล กระบวนการทำงาน
9
“ระบบ”ของงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม
นักวิชาการ KPI วารสาร ผศ. รศ. ศ. รางวัล ทุน เพื่อน ร่วมงาน ความรู้ ทักษะ โครงสร้าง การจัดการ
10
การประเมินเป็นเงื่อนไขสำคัญ
ต้องสร้างระบบประเมินใหม่! ใช้ตัวชี้วัดหลายเกณฑ์ (Multi-criteria) แยกพันธกิจมหาวิทยาลัยกลุ่มต่างๆ ประเมินระดับมหาวิทยาลัย คณะ/สาขาวิชา และบุคคล สร้าง “ระบบย่อย” ภายในสถาบัน ระบบการสนับสนุน (in cash & in kind) ระบบความก้าวหน้าและการเลื่อนตำแหน่ง ระบบการตอบแทนตามผลงาน (Performance-based) (จะมีสัมมนาวันที่ 6 พฤษภาคม)
11
ประเมินจากวิธีปฏิบัติที่ดี (Good Practices)
วิเคราะห์สถานภาพโดยรวมของมหาวิทยาลัย ในพันธกิจวิชาการเพื่อรับใช้สังคม (Teaching, Research, Community Engagement) เลือกกรณีศึกษาที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (Good Practices) วิเคราะห์ตัวชี้วัดจากกรณีศึกษา สร้างวิธีตรวจสอบ เอกสารประกอบการตรวจสอบตัวชี้วัด สร้างพื้นที่ทางวิชาการ เช่นวารสารวิชาการเพื่อรับใช้สังคม และสนามรับรองคุณภาพ นำเข้าสู่เกณฑ์ประเมินผลงานเพื่อตำแหน่งทางวิชาการ สร้างเครือข่ายของผู้ประเมินผลงาน (Readers) สร้างตัวอย่าง (Role Model) ของนักวิชาการเพื่อรับใช้สังคม
12
เครื่องมือ : “การวิจัยสถาบัน (Institutional Research)”
สำหรับแต่ละสถาบัน วิเคราะห์สภาพที่เป็นอยู่ (Assessment) สกัดวิธีปฏิบัติที่ดี เพื่อสร้างตัวชี้วัดสมรรถนะ Monitor การดำเนินงานด้วยตัวชี้วัด มองอนาคต (Foresight) สำหรับเครือข่ายสถาบัน มีระบบเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างสถาบัน พัฒนาเครื่องมือร่วม (โปรแกรม, Template, วิธีวิเคราะห์, Website ฯลฯ) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้/เปรียบเทียบ ระหว่างมหาวิทยาลัย
13
การขับเคลื่อนระบบวิชาการเพื่อรับใช้สังคม
ส่วนภูมิภาค กลุ่มมหาวิทยาลัยราชกัฎอีสานตอนล่าง 22 ธค 53 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 27 มค 54 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 28 มค 54 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 14 กพ. 54 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 8 กพ. 54 กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎภาคใต้ 9 กพ. 54 ส่วนกลาง (สกอ. สมศ.) การประชุมปฏิรูปการศึกษารอบ 2 ทุกวันพฤหัสบดีต้นเดือน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.