งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
07/04/60 วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

2 การใช้บทบาทสมมติที่มีต่อความนิยมไทย
งานวิจัยเรื่อง การใช้บทบาทสมมติที่มีต่อความนิยมไทย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวกานดา สมุทรรัตน์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

3 07/04/60 ความเป็นมา

4 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบความนิยมไทยของนักเรียนที่ได้รับการ ใช้บทบาทสมมติกับนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ เพื่อเปรียบเทียบความนิยมไทยของนักเรียนก่อนและหลัง การใช้บทบาทสมมติ เพื่อเปรียบเทียบความนิยมไทยของนักเรียนก่อนและหลัง การสอนแบบปกติ

5 กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ วิธีการพัฒนาความนิยมไทย 2 วิธี
ตัวแปรตาม วิธีการพัฒนาความนิยมไทย 2 วิธี คือ - การใช้บทบาทสมมติ - การสอนแบบปกติ ความนิยมไทย

6 วิธีดำเนินการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 4-5 วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง อำเภอเมือง จังหวัดระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ที่ได้คะแนนจากแบบสอบถามความ นิยมไทยต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 25 ลงมา จำนวน 22 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 4-5 วิทยาลัย อาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง อำเภอเมือง จังหวัดระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ที่มีความนิยมไทยต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 25 จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายจากประชากร และ สุ่มอย่างง่ายอีกครั้งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 10 คน

7 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
1. โปรแกรมความนิยมไทยโดยการใช้บทบาทสมมติ 2. โปรแกรมความนิยมไทยโดยการสอนแบบปกติ 3. แบบสอบถามความนิยมไทย

8 การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล
1. ขั้นก่อนทดลอง ทำการสอนก่อนการทดลอง (Pretest) โดยให้กลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมตอบแบบสอบถามความนิยมไทย ขั้นดำเนินการทดลอง ดำเนินการทดลองโดยใช้บทบาทสมมติกับ กลุ่มทดลอง ตามโปรแกรมการใช้บทบาทสมมติความนิยมไทย เป็นเวลา 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที จำนวน 10 ครั้ง ในวันจันทร์และวันพุธ เวลา – น. ตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ ถึงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ ส่วนกลุ่ม ควบคุมได้รับการสอนแบบปกติตามโปรแกรมการสอนแบบปกติ ความนิยมไทย เป็นเวลา 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที จำนวน 10 ครั้ง ในวันอังคารและวันพฤหัสบดี เวลา – 13.50 น. ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ ถึงวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

9 การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล
3. การสอบหลังการทดลอง (Posttest) ให้นักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุมทำแบบสอบถามความนิยมไทยอีกครั้งหนึ่ง หลังจากใช้บทบาท สมมติและการสอนแบบปกติ โดยใช้แบบสอบถามฉบับเดียวกับที่ใช้ ก่อนทดลอง นำคะแนนที่ได้จากแบบสอบถามความนิยมไทยทั้งสองครั้งมาทำการ วิเคราะห์ทางสถิติต่อไป

10 การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล
1. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความนิยมไทยของนักเรียนที่ ได้รับการใช้บทบาทสมมติกับนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ โดยการ ทดสอบของ แมน วิทนีย์ (The Mann – Whitney U Test) 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความนิยมไทยของนักเรียนที่ ได้รับการใช้บทบาทสมมติก่อนและหลังการใช้บทบาทสมมติ โดยการ ทดสอบของ วิลคอกซัน (The Wilcoxon Matched – Pairs Signed Rank Test) 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความนิยมไทยของนักเรียนที่ ได้รับการสอนแบบปกติ ก่อนและหลังการสอนแบบปกติ โดยใช้การ

11 สรุปผลการวิจัย 1. ผลการเปรียบเทียบคะแนนนิยมไทย ระหว่างกลุ่มทดลองที่ใช้บทบาทสมมติและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ พบว่า การใช้บทบาทสมมติทำให้นักเรียนมีความนิยมไทยสูงขึ้นกว่าการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนความนิยมไทยของกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้บทบาทสมมติ พบว่า การใช้บทบาทสมมติทำให้นักเรียนมีความนิยมไทยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการเปรียบเทียบคะแนนความนิยมไทยของกลุ่มควบคุมก่อนและหลังการสอนแบบปกติ พบว่า การสอนแบบปกติทำให้นักเรียนมีความนิยมไทยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

12 ประโยชน์ของการวิจัย 1. ควรมีการศึกษาทดลองใช้วิธีการอื่น เช่น เทคนิคแม่แบบเพื่อ พัฒนาความนิยมไทยของนักเรียน 2. ควรทดลองใช้บทบาทสมมติพัฒนาความนิยมไทยของนักเรียน ในระดับชั้นอื่น

13 07/04/60 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google