งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

2 วัตถุประสงค์ ๑  เพื่อชดเชยผู้ได้รับความเสียหายจากการ ใช้บริการสาธารณสุข ครอบคลุมบุคคลที่ใช้บริการจากสถานพยาบาลที่ เปิดดำเนิน การอย่างถูกต้องตามกม. ( รวมร้านยา และสถานพยาบาลที่ไม่มีแพทย์ ) ครอบคลุมรายการการชดเชยที่ผู้เสียหายพึงได้รับ ตามกม. แพ่ง แต่มีเพดานวงเงิน ( และอาจจะรวม การชดเชยค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหาก ความเสียหายเกิดขึ้นไม่สามารถใช้จากระบบประกัน สุขภาพที่มีอยู่ ) ชดเชยทั้งการบาดเจ็บกรณีทั้งเหตุสุดวิสัย (mishap) หรือเกิดจากความผิดพลาดทาง การแพทย์ (medical error) โดยไม่จำเป็นต้อง พิสูจน์ความผิด

3 วัตถุประสงค์ ๒  เพื่อลดการฟ้องร้องของผู้ป่วยต่อแพทย์ และสถานพยาบาล และความขัดแย้งใน ปัจจุบัน ไม่จำกัดสิทธิในการฟ้องร้องทางแพ่ง แต่ไม่ จ่ายเงินจนกว่าคดีจะสิ้นสุด ไม่เกี่ยวข้องกับความผิดในคดีอาญา การมีบทเฉพาะการให้ครอบคลุมบุคคลที่ ดำเนินการฟ้องร้องต่อแพทย์หรือ สถานพยาบาล ( ใช้สิทธิทางศาลในปัจจุบัน ) ให้สามารถใช้กระบวนตามกฎหมายนี้ได้ ภายใน ๑๒๐ วัน

4 วัตถุประสงค์ ๓  เพื่อสนับสนุนการยกระดับมาตรฐานการรักษา และเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วย (patient safety) ในระยะยาว การจัดทำ non punitive error report โดย สถานพยาบาลที่มีผู้ร้องขอค่าชดเชย การตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมโดยคณะกรรมการ (claim panel) เพื่อสรุปความเกี่ยวข้องกับการใช้ บริการ การเผยแพร่ข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการ ป้องกัน การใช้เงินกองทุนเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ ระหว่างสถานพยาบาลและประชาชน

5 ที่มาของเงินกองทุน  เงินสมทบจากสถานพยาบาลเอกชน โดย เรียกเก็บเมื่อต่อทะเบียนใบอนุญาต ประจำปี  เงินสมทบจากกองทุนประกันสุขภาพ แห่งชาติ ตามมาตรา ๔๑ ( ถ่ายโอนภารกิจ การดำเนินงานเดิมมายังกองทุนใหม่ )  งบประมาณประจำปี กรณีการเก็บจากสถานพยาบาลเอกชน อาจจะจัดเก็บตาม experience rate และโอกาส เสี่ยง

6 กลไกบริหาร  บริหารโดยหน่วยงานรัฐที่จัดตั้งขึ้นตาม กม. มีคณะกรรมการฯ เป็นผู้กำหนด นโยบาย มีบุคคลที่ได้รับการยอมรับเป็น กรรมการ  การจ่ายเงินค่าชดเชยจะแบ่งเป็นอย่างน้อย ๒ ขั้นตอน ขั้นตอนแรก : การช่วยเหลือเบื้องต้น เมื่อสามารถ พิสูจน์ได้ว่าเกี่ยวข้องกับการใช้บริการและเข้า หลักเกณฑ์ ขั้นตอนที่สอง : การชดเชยความเสียหาย จ่ายหลัง การประเมินรายละเอียดความเสียหาย และอาจมี การเจรจากับผู้ป่วย / ญาติเพื่อให้เกิดความเหมาะสม ในการชดเชย ( จำนวนเงินที่ชดเชยอาจทยอยจ่าย เป็นงวดๆ ให้สอดคล้องกับความจำเป็นของผู้ป่วย / ญาติ )

7 ขั้นตอนการขอเงินชดเชยฯ  ผู้เสียหาย / ทายาทยืนคำร้องเพื่อขอเงิน ชดเชยภายในระยะเวลาไม่เกิน ๓ ปี หลัง ทราบความเสียหาย  คณะอนุกก. พิจารณาคำร้องรับเรื่องและ พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน หากเป็นผู้เสียหายตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ให้มีสิทธิ ได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามอัตราที่กำหนด  คณะอนุกก. ประเมินค่าชดเชยความเสียหาย ดำเนิน การให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วัน ก่อนจ่ายเงินให้มีการจัดทำสัญญาชดใช้เงินคืนกรณี ฟ้องต่อศาล  หากไม่พอใจผลการตัดสินสามารถอุทธรณ์ ใน ๓๐ วัน

8 หลักเกณฑ์เบื้องต้น  ความเสียหายเกิดจากการใช้บริการ สาธารณสุข ไม่ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดจากพยาธิ สภาพของโรค ไม่ครอบคลุมความเสียหายเล็กน้อย  เงินชดเชยครอบคลุม ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ( ในส่วนที่ไม่คุ้มครอง โดยระบบประกันสุขภาพ ) ค่าขาดประโยชน์ทำมาได้ ค่าชดเชยความทุกข์ทรมานทางจิตใจที่เป็นผล โดยตรงจากความเสียหายทางร่างกาย ค่าชดเชยกรณีพิการ ทุพพลภาพ ค่าชดเชยกรณี เสียชีวิต ค่าชดเชยกรณีการขาดไร้อุปการะ


ดาวน์โหลด ppt กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google