ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยUthai Pramoj ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1. จัดทำนโยบายแนวทางและแผนแม่บทด้านสาธารณภัย 2. ติดตาม ประเมินผล และกำกับการปฏิบัติการตามแผนแม่บท 3. ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำงบประมาณของกรม 4.ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีแผนสำหรับหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติและเตรียมความพร้อมในการป้องกันและระงับอัคคีภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถใน การป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย ตามยุทธศาสตร์ ประสิทธิผล การให้บริการ คุณภาพ ประเมินผลนโยบายเน้นหนักของ ปภ. และนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ความสามารถในจัดการด้านงบประมาณ เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามประเมินผลตามภารกิจของหน่วยงานเพื่อปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงาน การพัฒนา องค์การ พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร
2
เป้าประสงค์และตัวชี้วัด สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
เป้าหมาย น้ำหนัก (ร้อยละ) เพิ่มขีดความสามารถในการป้องกัน และลดผลกระทบจากสาธารณภัย 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตาม เป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ ร้อยละ 100 15 2. จำนวนจังหวัดที่มีการจัดทำแผนและฝึกซ้อมแผนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตามสภาพพื้นที่ เสี่ยงภัย 75 จังหวัด 3. ร้อยละของอำเภอที่มีการจัดทำแผนและการฝึกซ้อมแผน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ร้อยละ 96 เพื่อให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของ ปภ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ สำหรับหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติและเตรียมความพร้อมในการป้องกันและระงับอัคคีภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในกรณีเกิดอัคคีภัยในสถานที่ทำงาน 4. ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนป้องกันและระงับ อัคคีภัยของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับ 5 10 ประเมินผลนโยบายเน้นหนักของ ปภ. และนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน 5. ระดับความสำเร็จของการติดตามประเมินผลโครงการการฝึกซ้อมแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด (เชิงคุณภาพ) ประจำปีงบประมาณ 2552
3
เป้าประสงค์และตัวชี้วัด สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
เป้าหมาย น้ำหนัก (ร้อยละ) ความสามารถในการบริหารจัดการด้านงบประมาณ 6. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ร้อยละ 80 5 เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน 7. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายในการลดการใช้พลังงาน ร้อยละ 100 10 เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามประเมินผลตามภารกิจของหน่วยงานเพื่อปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงาน 8. ระดับความสำเร็จของการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานภายในองค์กร (360 องศา) ประจำปีงบประมาณ 2552 ระดับ 5 พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร 9. จำนวนเรื่องที่มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากรในหน่วยงานเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 10 เรื่อง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.