งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงานภายใต้ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงานภายใต้ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงานภายใต้ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
โดย สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๖ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด

2 วิกฤติ สู่ สิ่งแวดล้อมดี 26 สิงหาคม 2557 คสช. เห็นชอบ
Roadmap การจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย สู่ สิ่งแวดล้อมดี วิกฤติ

3

4

5

6 เป้าหมายภายใน 1 ปี ขยะเก่า 22 ล้านตัน ได้รับการแก้ไข
เป้าหมายภายใน 1 ปี ขยะเก่า 22 ล้านตัน ได้รับการแก้ไข มีศูนย์กำจัดขยะที่แปรรูปเป็นพลังงาน อย่างน้อย 15 แห่ง มีการแยกขยะอันตรายออกจากขยะทั่วไป มีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับการจัดการขยะ

7 ระเบียบใหม่ ภายใต้ Roadmap

8 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. ....” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ในระเบียบนี้ แผนแม่บท / แผนปฏิบัติการ / ขยะมูลฝอย / หน่วยงานของรัฐ / ราชการส่วนท้องถิ่น / เจ้าพนักงานท้องถิ่น หมายความว่า ...

9 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ข้อ 4 ทส. ทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ เสนอ ครม. ข้อ 5 จังหวัดทำแผนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัด เสนอ ทส. ข้อ 6 ครม. เห็นชอบแผนแม่บท (ทส.มีอำนาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมแผนแม่บท) ข้อ 7 สำนักงบประมาณสนับสนุนงบประมาณตามแผนแม่บท

10 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ข้อ 8 ผวจ. ทำแผนปฏิบัติการ ตามแผนแม่บท เสนอ ทส. ข้อ 9 ผวจ. มีอำนาจ กำกับดูแลการใช้จ่ายงบประมาณ กำกับดูแลราชการท้องถิ่นและเจ้าพนักงานท้องถิ่น ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบนี้

11 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ข้อ 10 หากดำเนินการไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการหรือแผนแม่บท ผวจ. แจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่น แก้ไขปรับปรุง หากดำเนินการไม่ได้ ให้แจ้งทส. พิจารณาปรับปรุงแผนแม่บทต่อไป ข้อ 11 หน่วยงานของรัฐดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนดให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการหรือแผนแม่บท ข้อ 12 ทส. ประเมินผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการหรือแผนแม่บท รายงาน ครม. ทุก 6 เดือน

12

13

14 กรอบการจัดทำแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัด (ระยะ 5 ปี พ. ศ
กรอบการจัดทำแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัด (ระยะ 5 ปี พ.ศ – 2562) ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวม ของจังหวัด ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอย ของจังหวัด ส่วนที่ 4 แผนการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ส่วนที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติและ การติดตามประเมินผล

15 แนวทางการดำเนินงานจัดทำแผนงานบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
สอดคล้องกับ Roadmap

16 กิจกรรมตาม Roadmap แก้ไขปัญหาขยะเก่า สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยใหม่
วางระเบียบ มาตรการ สร้างวินัยคนในชาติ

17 การดำเนินงานตาม Road Map
1. ห้ามเทกองแบบกลางแจ้ง (No More Open Dump) 2. จัดการกับบ่อขยะเดิมที่ไม่ถูกต้อง 3. ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้กำกับดูแลในภาพรวม - ให้มีคณะกรรมการจัดทำแผนจัดการ ขยะมูลฝอย ณ ภาพรวมของจังหวัด

18 การดำเนินงานตาม Road Map (ต่อ)
4. มีแผนแม่บทการจัดการขยะของประเทศ - แผนแม่บท - แผนระดับจังหวัด - แผนปฏิบัติการ 5. คัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง - ขยะทั่วไป ขยะอินทรีย์ - ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย

19 การดำเนินงานตาม Road Map (ต่อ)
6. รูปแบบใหม่ในการจัดการขยะชุมชน - กำจัดแบบศูนย์รวม - เน้นแปรรูปสู่พลังงาน 7. สร้างระบบจัดการของเสียอันตราย 8. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมาลงทุนหรือดำเนินงานระบบฯ

20 การดำเนินงานตาม Road Map (ต่อ)
9. สร้างวินัยคนในชาติมุ่งสู่การจัดการอย่างยั่งยืน - บรรจุในหลักสูตร - Zero Waste - ธนาคารขยะ - ลดการใช้ถุงพลาสติก/กล่องโฟม 10. มุ่งสู่การจัดการอย่างยั่งยืน

21 ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม
การรวมกลุ่มพื้นที่ ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม

22 การรวมกลุ่มพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Clustering)
หลักเกณฑ์การจัดกลุ่ม หมายเหตุ ปริมาณขยะมูลฝอยที่เข้าระบบ (ตัน/วัน) รัศมีการขนส่ง (กิโลเมตร) ขนาดใหญ่ 1 (L1) > 700 50 ขนาดใหญ่ 2 (L2) > ขนาดกลาง 1 (M1) > ขนาดกลาง 2 (M2) > ขนาดเล็ก 1 (S1) > 30 พื้นที่ขนาดเล็กสามารถรวมกันเป็นสถานีขนถ่ายเพื่อส่งขยะศูนย์จัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรที่ตั้งอยู่ข้างเคียง ขนาดเล็ก 2 (S2) < 15

23 ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น 290,607.90 ตัน/ปี (100%) อปท. ที่มีการให้บริการ
123 แห่ง (78%) ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่ให้บริการ 250, ตัน/ปี (86%) ปริมาณขยะที่เก็บขนไปกำจัด 205,735.9 ตัน/ปี (71%) ปริมาณขยะที่กำจัดไม่ถูกต้อง 443,298 ตัน/ปี อปท. ที่ไม่มีการให้บริการ 34 แห่ง (22%) ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่ไม่มีการให้บริการ 39, ตัน/ปี (14%) ปริมาณขยะสะสม 585, ตัน ปริมาณขยะที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ 45, ตัน/ปี (15%) (14)

24 ข้อมูลปี 2556 จ.พระนครศรีอยุธยา สถานที่กำจัดขยะ มูลฝอย 23 แห่ง
(อปท. 20 แห่ง เอกชน 3 แห่ง)

25 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การแบ่งกลุ่มพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Clustering) เพื่อรองรับการจัดตั้งศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปริมาณขยะ สถานที่ตั้ง กำหนดเขตห้ามเทกองขยะมูลฝอย Cluster ที่เข้าศูนย์ ขนาดพื้นที่ : ไร่ อปท.หลัก อำเภอที่เข้าร่วม สถานที่กำจัดที่ปิด/ปรับปรุงฟื้นฟู (No More Open Dump) (ตัน/วัน) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ทน.พระนครศรีอยุธยา 347 อำเภอพระนครศรีอยุธยา อ.ผักไห่ อ.บางบาล ทต.ลาดบัวหลวง ทต.สามเมือง อ.มหาราช อ.บางปะหัน อ.บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ.บางซ้าย อ.ลาดบัวหลวง ทต.บางนมโค อ.วังน้อย อ.อุทัย อ.ท่าเรือ อ.บางไทร อ.บางปะอิน ทต.กุฏี ทต.ราชคราม อ.ลาดบัวหลวง อ.บางไทร อ.พระนครศรีอยุธยา ทต.เชียงรากน้อย อ.ภาชี ทต.บ้านสร้าง ทต.ลำตาเสา อ.ผักไห่ ทต.นครหลวง 273 หมู่ 3 ตำบลบางระกำ อ.บ้านแพรก อ.มหาราช ทต.โรงช้าง ทต.บางปะหัน อำเภอนครหลวง อ.บางปะหัน อ.นครหลวง ทต.ท่าเรือ ทต.ท่าหลวง อ.เสนา อ.ท่าเรือ อ.ภาชี อบต.พระแก้ว ทต.อุทัย พื้นที่ 68 ไร่ ทต.บ้านหีบ อบต.แม่ลา ทม.เสนา 57 ตำบลสามกอ ทต.เจ้าเจ็ด อำเภอเสนา พื้นที่ 85 ไร่ บริษัท บางไทร รีไซเคิล 65 60/1 ม.5 ต.บางพลี จ.พระนครศรีอยุธยา พื้นที่ 60 ไร่ บ่อขยะเอกชน 54 ม.12 อุทัย อ.อุทัย พื้นที่ 32 ไร่

26 ศูนย์ ทน.พระนครศรีอยุธยา
ขยะเข้า 347 ตัน/วัน ศูนย์ ทต.นครหลวง ขยะเข้า 273 ตัน/วัน ศูนย์ ทม.เสนา ขยะเข้า 57 ตัน/วัน บริษัทเอกชน ขยะเข้า 54 ตัน/วัน บริษัท บางไทร รีไทรเคิล ขยะเข้า 65 ตัน/วัน

27 สิ่งที่เตรียมการไปแล้วเบื้องต้น

28 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตัวอย่าง 1 จังหวัด 1 แห่ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตัวอย่าง 1 จังหวัด 1 แห่ง จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สิงห์บุรี ทม.บางระจัน อ่างทอง ทต.แสวงหา พระนครศรีอยุธยา ทต.นครหลวง ปทุมธานี ทน.รังสิต นนทบุรี (นำร่อง) ทน.นนทบุรี ทน.ปากกร็ด ทต.ปลายบาง สมุทรปราการ อบต.แหลมฟ้าผ่า

29 ชุมชนตัวอย่าง(ลด คัดแยก ตั้งแต่ต้นทาง) ๑ จังหวัด ๑แห่ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สิงห์บุรี ชุมชนบ้านสวนหลวง อำเภออินทร์บุรี อ่างทอง ชุมชนศาลเจ้าโรงทอง อำเภอวิเศษไชยชาญ พระนครศรีอยุธยา ชุมชนบ้านมหาราช อำเภอมหาราช ปทุมธานี หมู่บ้านบ้านเชียงราก หมู่ ๒ อำเภอสามโคก นนทบุรี (นำร่อง) ชุมชน สหกรณ์ ตำบลบางกระสอ ทน.นนทบุรี ชุมชนพบสุข เทศบาลปากเกร็ด สมุทรปราการ ชุมชน ๒๐๑ พัฒนา ตำบลบางเสาธง

30 เป้าหมายศูนย์รวบรวมของเสียอันตราย รายจังหวัด (สสภ.๖)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สิงห์บุรี เทศบาลเมืองสิงห์บุรี อ่างทอง เทศบาลเมืองอ่างทอง พระนครศรีอยุธยา เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี เทศบาลนครรังสิต นนทบุรี (นำร่อง) เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครปากเกร็ด อบจ.นนทบุรี สมุทรปราการ อบต.แพรกษาใหม่ (ส่งเสริมเอกชน)

31 สถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ต้องถูกต้องตามหลักวิชาการ
No more open dump สถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ต้องถูกต้องตามหลักวิชาการ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงานภายใต้ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google