ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKittinan Atitarn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน โครงสร้างต้นทุน 1. ต้นทุนคงที่ (fixed cost: FC) และต้นทุนคงที่รวม (total cost: TFC) 2. ต้นทุนผันแปร (total variable cost: TVC) 2.1 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ 2.2 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง
2
โครงสร้างต้นทุน (ต่อ) 3. ต้นทุนรวม (total cost: TC)
3.1 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ 3.2 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง 4. ต้นทุนคงที่เฉลี่ยต่อหน่วย (average fixed cost: AFC) 5. ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (average variable cost: AVC)
3
โครงสร้างต้นทุน (ต่อ)
6. ต้นทุนเฉลี่ย ((average cost: AC) หรือต้นทุนรวม เฉลี่ย (average total cost: ATC) 7. ต้นทุนส่วนเพิ่มหรือต้นทุนหน่วยสุดท้าย (marginal cost: MC)
4
วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน
1. วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนเฉลี่ย (average cost pricing) หรือต้นทุนเต็มจำนวน (full cost pricing) 2. วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (average variable cost pricing) หรือต้นทุนที่เพิ่มขึ้น (incremental cost pricing)
5
วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (ต่อ)
3. วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนส่วนเพิ่ม (marginal cost pricing) วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย (mark up on selling price หรือ mark up pricing) เป็นการตั้งราคาแบบบวก กำไรส่วนเพิ่มเข้าไปในราคาขาย
6
วิธีการตั้งราคาแบบลูกโซ่ (ต่อ)
วิธีการตั้งราคาแบบลูกโซ่ในช่องทางการจัดจำเหน่าย (mark up chain pricing หรือ mark up through a channel of distribution)
7
ข้อดีและข้อเสียของการตั้งราคาโดยมุ่งที่ต้นทุน
1. ข้อดี 1.1 เป็นเกณฑ์ที่ชัดเจนในการตั้งราคาได้สะดวก 1.2 เป็นวิธีที่สามารถกำหนดได้ชัดเจนว่าธุรกิจจะมี กำไรเท่าไร 1.3 ทำให้ธุรกิจได้ใช้ประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้าง ต้นทุน โดยธุรกิจจะได้เปรียบจากการตั้งราคาให้เหมาะสม ตามต้นทุนที่เปลี่ยนแปลง
8
ข้อดีและข้อเสียของการตั้งราคาโดยมุ่งที่ต้นทุน
2. ข้อเสีย 2.1 เมื่อต้นทุนเปลี่ยนแปลงธุรกิจต้องต้องเปลี่ยนแปลง ราคาตามไปด้วย ทำให้ธุรกิจต้องสามารถเปลี่ยนแปลงราคาได้ ทันที 2.2 อาจผิดพลาดโดยคำนวณต้นทุนทุกประเภทไม่ ครอบคลุม เช่น ต้นทุนด้านการตลาด (ต้นทุนการวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และต้นทุนการส่งเสริมการตลาด) ต้นทุนแรงงาน และ ต้นทุนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นต้น
9
กลยุทธ์การตั้งราคาโดยใช้จุดคุ้มทุน
1. แนวความคิดเกี่ยวกับจุดคุ้มทุน 1.1 จุดค้มทุน (break-even point) 1.2 รายได้รวม (total revenue: TR) 1.3 ต้นทุนรวม (total cost: TC) 2. วิธีการคำนวณจุดคุ้มทุนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชนิดเดียว 3. วิธีการคำนวณจุดคุ้มทุนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หลายชนิด
10
วิธีการตั้งราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนเมื่อราคา
และอุปสงค์เปลี่ยนแปลง 1. คาดคะเนปริมาณความต้องการซื้อสินค้า 2. คำนวณต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นจากปริมาณการผลิต 3. คำนวณหากำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นในแต่ละ ระดับราคา 4. ตัดสินใจเลือกระดับราคาที่ทำให้เกิดกำไรสูงสุด 5. คำนวณจุดคุ้มทุนในแต่ละระดับราคา
11
วิธีการตั้งราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน แบบเส้นโค้ง
1. การคำนวณหารายได้รวมที่เกิดจากราคาต่อหน่วย 2. การคำนวณต้นทุนรวม 3. การคำนวณกำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นในแต่ละ ระดับราคา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.