ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThao-ap Pongsak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟัง ความคิดเห็น ประธาน - ประชา เตรัตน์ รองประธานคนที่ 1 - พลเดช ปิ่นประทีป รองประธานคนที่ 2 - อรพินทุ์ สพโชคชัย เลขานุการ - ชัยพร ทองประเสริฐ ผู้ช่วยเลขานุการ - หาญณรงค์ เยาวเลิศ โฆษก - นิมิตร สิทธิไตรย์ ที่ปรึกษา - เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง, รสนา โตสิ ตระกูล, ประเสริฐ ชิตพงษ์
2
เป้าหมายการทำงานของกมธ. การมีส่วนร่วม 1. สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของการปฏิรูปของ ประชาชน - พลเมืองในทุกจังหวัดและ ชุมชนท้องถิ่นทั่วประเทศ 2. รวบรวมข้อคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่ เหล่า เพื่อนำเสนอต่อกมธ. ยกร่างรธน. อย่างทันต่อเวลาและตรงประเด็น 3. รวบรวมข้อคิดเห็นเสนอแนะจากประชน ทุกวงการ ทั่วประเทศ นำเสนอต่อกมธ. ปฏิรูปทั้ง 18 คณะ โดยครบถ้วน อย่างเป็น รูปธรรม
3
กรอบกิจกรรมและเนื้องานสำคัญ กิจกรรมและเวทีการมีส่วน ร่วมเชิงพื้นที่ (77 จว.) กิจกรรมและเวทีการมีส่วน ร่วมเชิงเครือข่ายประเด็น และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (18 ประเด็น +..) กิจกรรมการสื่อสาร รณรงค์และการมีส่วนร่วม ที่หลากหลาย งานรวบรวมและสังเคราะห์ ประเด็นการปฏิรูป เพื่อ การส่งต่อและขยายผล งานประสานภายในทั้งระบบ ( กธม.1+1+18+5 และ สปช.250)
4
ห้วงเวลา เนื้อหาสาระและจังหวะ กิจกรรม ส่วนที่ 1 การร่างรธน. 1. ก่อน 19 ธค.2557 - ตั้งวงระดมความคิดขนาด เล็ก /FGD ทำสรุปข้อเสนอแนะ ( อย่างรวดเร็ว ) ว่ามี ประเด็นหรือเรื่องอะไรบ้างที่กลุ่มเห็นว่าสำคัญ ที่จะฝาก กมธ. รธน.( สั้นๆ ) เพื่อเขาจะเอาไปใช้ในการตั้งเป็น กรอบหรือเค้าโครงในการเขียนรธน. 2. ก่อน 17 เม. ย.2558 - เปิดเวทีประชาเสวนา / ระดม ความคิด / สื่อสารมวลชน / สื่อสารสังคม /poll/ ฯลฯใน ประเด็นรธน. ใหม่กับการปฏิรูปการเมือง ( ในหัวข้อหรือ มิติที่เครือข่ายสนใจ ) อย่างน้อย 1-2 ครั้ง โดยมีการสรุป สังเคราะห์สาระสำคัญเพื่อเสนอต่อกมธ. รธน. ก่อนที่เขา จะเขียนร่างรธน. เป็นตุ๊กตา ( ร่าง 1) 3. ก่อน 28 กค.2558 - เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นต่อ ” รธน. ร่าง (1)” โดยจะดูเฉพาะภาพรวม หรือรายละเอียด ทุกมาตราก็สุดแต่ความสนใจของเวที สัก 2-3 ครั้ง โดย จัดให้มีทีมวิชาการสรุปข้อคิดเห็น ข้อสังเกตุและ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปรับปรุงของ กมธ. รธน. อย่างทันต่อเวลาก่อนที่เขาจะจัดทำร่างฉบับ ที่ 2 ซึ่งเป็นร่างสุดท้าย ที่สปช.250 คนจะชี้ขาดว่า “ รับ หรือไม่รับ ” แบบทั้งฉบับ
5
ห้วงเวลา เนื้อหาสาระและจังหวะ กิจกรรม ส่วนที่ 2 การปฏิรูป 18 ประเด็น 1.Quick Win สามเดือนแรก ( ธค. มค. กพ.) - ร่วมกับกมธ. ๑๘คณะและเครือข่ายทางสังคม รวบรวมข้อเสนอการ ปฏิรูปที่ตกผลึกแล้วและเป็นรูปธรรม ( ร่างกฎหมายเชิง ปฏิรูปที่มีอยู่เรียบร้อยแล้ว ) นำเข้าสู่การพิจารณาของ สปช. ๒๕๐โดยเร็ว และส่งต่อครม. และสนช. เพื่อสร้าง ผลงานแก่ประชาชนร่วมกัน 2.Redesign หกเดือน ( มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค.) - ร่วมกับ กมธ. ๑๘คณะและเครือข่ายทางสังคมอย่างกว้างขวาง ในการออกแบบการปฏิรูปประเทศตามวิสัยทัศน์ภิวัฒน์ ไทย ให้มีเป้าหมายเป็นร่างแผนแม่บทและร่างกฎหมาย การปฏิรูปที่เป็นรูปธรรม โดยดำเนินการคู่ขนานไปกับ กระบวนการและขั้นตอนการทำงานของสภาสปช. ๒๕๐ 3.Transfer สามเดือนสุดท้าย ( กย. ตค. พย.) – ร่วมกับสปช. ๒๕๐จัดกิจกรรมส่งมอบผลงานและผลผลิตให้กับ สังคม รัฐบาล สนช. และพรรคการเมืองในรูปแบบที่ หลากหลาย
6
คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วน ร่วมระดับจังหวัด ประธาน - สปช. จว. อดีตผู้สมัครสปช. จว. - กลุ่มเครือข่ายสภาพัฒนาการเมือง / สภาองค์กร ชุมชนจว. – เครือข่ายประชาสังคมและหอการค้า ( ศูนย์ ประสานภาคีการพัฒนาจังหวัด ) - สถาบันการศึกษาและนักวิชาการท้องถิ่น – กกต. จว. – เลขานุการ ผวจ./ กอ. รมน./ มณฑลทหารบก / พระปกเกล้า / ปชส./ สถิติ / - ที่ปรึกษา
7
แผน 1- 7(2504-2539) “ เศรษฐกิจ ก้าวหน้า สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ ยั่งยืน ” ช่วงแผน 8-11 (2540- 2559 ) “ เศรษฐกิจติดกับ ทรัพยากรเสื่อมโทรม สังคมเหลื่อมล้ำ ราชการรวมศูนย์ การเมืองวิกฤติ ทุจริตเบ่งบาน ” วิสัยทัศน์ 2035 หนึ่งศตวรรษ อภิวัฒน์ ประเทศไทย มองย้อนหลังกึ่งศตวรรษ กับ วิสัยทัศน์ 20 ปี ข้างหน้า ประเทศรายได้สูง ไม่มีปัญหา คนยากจน ความเหลื่อมล้ำลดลง มีระบบ ดูแลผู้สูงอายุและแรงงาน ต่างชาติ พื้นที่ป่าร้อยละ 37 ที่ อุดมสมบูรณ์ จัดการพลังงาน และสิ่งแวดล้อมได้ ระบบคุณธรรมจริยธรรมฟื้น คืน โครงสร้างอำนาจทาง การเมืองได้ดุล ดัชนีความ โปร่งใสเกิน 5.5 แก้ปัญหาชายแดนใต้ได้ อย่างยั่งยืน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.