ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แผนบูรณาการ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นางปริยะดา โชควิญญู ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม วันที่ 28 ส.ค โรงแรมลีการ์เด้น พลาซ่า หาดใหญ่ จ.สงขลา
2
การจัดการมูลฝอยทั่วไป
1 10 จังหวัดที่มีปัญหามูลฝอยตกค้างสะสมสูง เขตบริการสุขภาพ สงขลา 12 สมุทรปราการ 3 กาญจนบุรี 4 นครศรีธรรมราช 11 สุราษฎร์ธานี ราชบุรี เพชรบุรี แพร่ 10 ปราจีนบุรี อยุธยา จังหวัดที่จะมีการแก้ไขปัญหาเร่งด่วน (คสช) เขตบริการสุขภาพ อยุธยา 4 สระบุรี ลพบุรี นครปฐม 5 ปัญหาที่ยังคงอยู่ ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นทุกปี/ การกำจัดไม่ถูกหลักสุขาภิบาล มลพิษและผลกระทบต่อสุขภาพจากการกำจัดไม่ถูกต้อง มูลฝอยตกค้าง สะสม เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและพาหะนำโรค การบังคับใช้ กฎหมายของท้องถิ่นยังไม่มีประสิทธิภาพ 28/08/2557
3
การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ปริมาณมูลฝอย 40,657 ตัน/ปี หรือ 111 ตัน/วัน
จำนวน (ตัน/ปี) เตาเผาเอกชน (capacity 50.8 ตัน/วัน เตาเผาราชการ (capacity 48.1 ตัน/วัน ปริมาณมูลฝอย 40,657 ตัน/ปี หรือ 111 ตัน/วัน ถูกกำจัด 84.5 ตัน/วัน (74.87 %) ปัญหาที่ยังคงอยู่ 1. ปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง/ ถูกปล่อยทิ้ง 26.5 ตัน/วัน 2. การควบคุมการขนส่งเพื่อนำไปกำจัดยังไม่ดีพอทำให้เกิดการลักลอบทิ้งในที่สาธารณะ หรือทิ้งรวมกับขยะทั่วไป 3. เตาเผาชำรุด/ไม่ได้มาตรฐาน ทำให้เกิดมลพิษต่อสุขภาพ 28/08/2557
4
พื้นที่เสี่ยงมลภาวะ ปัญหาที่ยังคงอยู่
เขตฯ จังหวัด ประเภทความเสี่ยง 1 เชียงใหม่ แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา ลำปาง 1) ฟลูออไรด์ 2) หมอกควัน เชียงราย น่าน 1) หมอกควัน 2 ตาก ฟลูออไรด์ 2) หมอกควัน 3) แคดเมียม เพชรบูรณ์ 1) ฟลูออไรด์ 2) เหมืองทอง พิษณุโลก สุโขทัย 3 อุทัยธานี 1) สารหนู 2) โรงไฟฟ้าชีวมวล พิจิตร 1) เหมืองทอง 4 อยุธยา 1) โรงไฟฟ้าชีวมวล 2) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ สระบุรี 1) มูลฝอยอันตราย 2) ฝุ่นละออง 5 สุพรรณบุรี 1) ฟลูออไรด์ 2) สารหนู สมุทรสาคร 1) ฟลูออไรด์ ประจวบฯ กาญจนบุรี 1) ตะกั่ว เพชรบุรี นครปฐม ราชบุรี ระยอง 2) อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา เขตฯ จังหวัด ประเภทความเสี่ยง 7 ขอนแก่น 1) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ 2) โรงไฟฟ้าชีวมวล กาฬสินธุ์ 1) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ร้อยเอ็ด 1) โรงไฟฟ้าชีวมวล 8 เลย 1) เหมืองทอง 2) โรงไฟฟ้าชีวมวล อุดรธานี หนองคาย 1) พื้นที่ด่านชายแดน 9 บุรีรัมย์ 1) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ 2) โรงไฟฟ้าชีวมวล ชัยภูมิ สุรินทร์ 10 อุบลฯ 11 ระนอง 1) ฟลูออไรด์ 2) พื้นที่ด่านชายแดน สุราษฎร์ฯ 1) ฟลูออไรด์ พังงา 12 สงขลา 1) โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ 2) ฟลูออไรด์ ยะลา ปัญหาที่ยังคงอยู่ ไม่มีระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่างต่อเนื่องในพื้นที่เสี่ยง 2. ขาดฐานข้อมูลความเสี่ยงและผลกระทบต่อสุขภาพ 3. ศักยภาพทีมปฏิบัติการแก้ไขสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ระดับพื้นที่ 28/08/2557
5
เรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญ
จังหวัดที่มีการร้องเรียนเหตุรำคาญด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมสูงสุด 10 อันดับแรก (ปี 2554) จำนวนเรื่องร้องเรียนรายเขตสุขภาพ ปี 2556 (ทั้งประเทศมีจำนวน1,938 เรื่อง) เขตฯ จังหวัด 1 เชียงใหม่ (2) 2 พิษณุโลก (9) 4 นนทบุรี (4) ปทุมธานี (3) 5 นครปฐม (6) สมุทรสาคร (7) ระยอง (8) 6 สมุทรปราการ (5) 7 มหาสารคาม (10) - กรุงเทพมหานคร (1) 5 ลำดับเรื่องร้องเรียนสูงสุด 1 กลิ่นเหม็น/ฝุ่นละออง 2 เสียงดัง/เสียงรบกวน 3 น้ำเสีย 4 มูลฝอย/สิ่งปฏิกูล 5 ของเสียอันตราย ปัญหาที่ยังคงอยู่ การบังคับใช้กฎหมายของท้องถิ่นในการควบคุมกิจการต่างๆ ยังไม่มีประสิทธิภาพ บุคลาการท้องถิ่นขาดทักษะในการดำเนินงาน ยังไม่มีค่ามาตรฐานเหตุรำคาญบางเรื่องที่เป็นปัญหา 28/08/2557
6
จังหวัดที่มีอัตราป่วยโรคระบบทางเดินอาหารสูง
พ.ศ เขตฯ จังหวัด 1 เชียงราย แม่ฮ่องสอน 7 ขอนแก่น 2 ตาก 8 อุดรธานีนครพนม 3 - 9 นครราชสีมา บุรีรัมย์ 4 10 อุบลราชธานี อำนาจเจริญ 5 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร 11 ระนอง ภูเก็ต 6 ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ตราด 12 ปัตตานี 28/08/2557
7
อัตราผู้ป่วยนอกด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ
อัตราป่วยด้วยโรคระบบหายใจ (ต่อประชากร 1,000 คน) ปี พ.ศ 10 จังหวัดที่มีอัตราป่วยด้วยโรคระบบหายใจสูง (ปี พ.ศ.2553) เขตฯ จังหวัด (อันดับ) 1 แม่ฮ่องสอน (4) 3 อุทัยธานี (3) 5 สมุทรสาคร (1) สมุทรสงคราม (6) นครปฐม (2) 6 ฉะเชิงเทรา (10) ระยอง (5) 10 ศรีสะเกษ (7) ยโสธร (9) 12 พัทลุง (8) ปัญหาที่ยังคงอยู่ 1. กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มโรคที่มีอัตราผู้ป่วยนอกมากเป็นอันดับ 1 2. ประชากรประมาณร้อยละ 50 ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ 28/08/2557
8
การได้รับพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช
จังหวัดที่มีอัตราป่วยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช สูงสุด 10 อันดับแรก (ปี 2554) ร้อยละผลการตรวจคัดกรองสารกำจัดศัตรูพืช รายเขตบริการ ปี 2556 เขตฯ จังหวัด 1 แม่ฮ่องสอน (9) 2 ตาก (1) 3 อุทัยธานี (3) ชัยนาท (4) กำแพงเพชร (10) 4 อ่างทอง (5) สิงบุรี (6) 5 สุพรรณบุรี (7) กาญจนบุรี (8) 6 จันทบุรี (2) ปัญหาที่ยังคงอยู่ เฉลี่ยร้อยละ ของเกษตรกร สัมผัสสารกลุ่ม Organophosphate และ Carbamates ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย 2. ปี มีผู้ป่วยได้รับพิษจากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช มีจำนวน 17,340 ราย และ อัตราป่วย 2.35 ต่อประชากรแสนคน 28/08/2557
9
กรอบความคิดการบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
Source ปัจจัยเสี่ยง มาตรการ/ การแก้ปัญหา Outcome 1.การจัดการ สุขาภิบาลอาหาร 2.การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค 3.การจัดการสิ่งปฏิกูล 4.การจัดการมูลฝอย 5.การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 6.การจัดการเหตุรำคาญ 7.การจัดการกิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 8.การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 9.การบังคับใช้กฎหมาย Traditional Hazard มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ สิ่งปฏิกูล อาหารและน้ำ Modern Hazard สารอันตราย มลพิษ Emergency Case ภัยพิบัติทางธรรมชาติ/มนุษย์ ไม่ถูกสุขลักษณะ สุขอนามัยบุคคลไม่ดี การจัดการไม่ได้มาตรฐาน พื้นที่เสี่ยง การบังคับใช้กฎหมาย พัฒนาระบบการจัดการฯของอปท. พัฒนาระบบฯการจัดการของสถานบริการของสธ. เฝ้าระวัง เตือนภัย การสื่อสาร ฯ เสริมสร้างบทบาทภาค ปชช. สร้างกลไกที่เชื่อมโยงทุกระดับ Healthy Env. การจัดบริการของ อปท. ได้มาตรฐาน รพ.ดำเนินงานได้มาตรฐาน Health Impact โรคระบบทางเดินอาหารลดลง พื้นที่ดำเนินการ เน้น จังหวัดที่มีอัตราป่วยสูง และเป็นพื้นที่เสี่ยง การบูรณาการแผนฯ ใช้หลัก Area Problem Base สป. กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ กรมวิทย์ฯ
10
มาตรการของยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
มาตรการสำคัญ กลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการ ผลลัพธ์/ ผลผลิต ผลลัพธ์ ทางสุขภาพ การบังคับใช้กฎหมาย พัฒนาระบบการ จัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมของอปท. พัฒนาระบบการ จัดการฯของสถาน บริการ สธ. การเฝ้าระวัง เตือนภัย สื่อสาร เสริมสร้างบทบาท ภาค ปชช. การสร้างกลไกที่ เชื่อมโยงทุกระดับ Healthy Env. การจัด บริการของ อปท. ได้ มาตรฐาน รพ. ดำเนินงาน ได้มาตรฐาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อบังคับท้องถิ่น มีกระบวนงานมาตรฐานในการจัดบริการ ออกข้อบังคับท้องถิ่น มีกระบวนงานได้มาตรฐานในการจัดบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกลไกในระดับพื้นที่ มีระบบเฝ้าระวัง มีหน่วยรองรับกรณีฉุกเฉิน มีการจัดบริการ ของหน่วยบริการ สสจ. สสอ.รพ. สสจ. สสอ.รพ. อสม.มีความรู้ มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง/ส่งเสริมการปรับพฤติกรรม ปชช. ปชช. มีส่วนร่วมและมีพฤติกรรมฯ ที่ถูกต้อง ภาคประชาชน/ ชุมชน ภาคประชาชน/ ชุมชน Health Impact โรคระบบทาง เดินอาหาร ลดลง หน่วยงานภายนอก / ภาคีเครือข่าย การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ มีกลไกการเชื่อมโยง ทั้งใน/นอก หน่วยงาน ภายนอก / ภาคีเครือข่าย
11
มาตรการสำคัญ 1. การบังคับใช้กฎหมาย
(งบฯ ล.) อ. คร. 15.4 พ. 5.8424 ว. 2 ล. สป. สบส. เขต จว. 1. การบังคับใช้กฎหมาย 1.1พัฒนากฎหมาย และมาตรฐานทางวิชาการ / 1.2 ผลักดันและกำกับการใช้มาตรการกฎหมายการสาธารณสุข และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 1.3 พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานสาธารณสุขและเจ้าพนักงานท้องถิ่น 2. พัฒนาระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวด ล้อมของอปท. 2.1 พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 2.2 พัฒนาบุคลากรท้องถิ่น 2.3 พัฒนา อปท. ต้นแบบ 2.4 ส่งเสริมการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA ในการจัดการเหตุรำคาญ 3.พัฒนาระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวด ล้อม และการ บริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการสาธารณสุข 3.1 ส่งเสริมและพัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อใน รพ. 3.2 พัฒนาคุณภาพการจัดบริการ เวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการสาธารณสุข 3.3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข 3.4 พัฒนาวิชาการ ต้นแบบ นวัตกรรม และจัดการความรู้ 28/08/2557
12
4. การเฝ้าระวัง เตือนภัย และสื่อสารสาธารณะ
มาตรการสำคัญ (งบฯ ล.) อ. คร. 15.4 พ. 5.8424 ว. 2 ล. สป. สบส. เขต จว. 4. การเฝ้าระวัง เตือนภัย และสื่อสารสาธารณะ 4.1 พัฒนาวิชาการ วิจัย ต้นแบบ และจัดการความรู้ / 4.2 พัฒนาระบบข้อมูล การเฝ้าระวัง เตือนภัย และสื่อสารสาธารณะ 4.3 พัฒนาระบบการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 5. เสริมสร้างบทบาทภาคประชาชน 5.1 ส่งเสริม อสม.ในการเฝ้าระวัง เผยแพร่ความรู้ สื่อสารความเสี่ยงให้ประชาชนทั่วไป 6. พัฒนากลไก และโครงสร้างงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 6.1 จัดให้มีผู้รับผิดชอบ กลไก/โครงสร้างการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมของกระทรวงสาธารณสุข 6.2 พัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายทั้งหน่วยงานภายใน ภายนอกกระทรวงฯ และระหว่างประเทศ 28/08/2557
13
ตัวชี้วัด ส่วนกลาง เขตสุขภาพ จังหวัด
ร้อยละ 50 ของเทศบาลทุกระดับมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวด ล้อมได้มาตรฐาน 2. มีระบบเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล สถานการณ์และ การเตือนภัยสุขภาพจากปัญหาสิ่งแวดล้อม 1. ร้อยละ 50 ของ เทศบาลทุกระดับมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน 2. มีระบบฐานข้อมูล และสถานการณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม 3. มีระบบเฝ้าระวัง และเตือนภัยฯ ในพื้นที่เสี่ยง อสธจ.ดำเนินงานตามแนวทาง ที่กำหนด 2. ร้อยละ 50 ของเทศบาลทุกระดับ มีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้มาตรฐาน 3. ร้อยละ 100 ของ รพ.สธ. มีการ จัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย 4. มีระบบฐานข้อมูลและสถานการณ์ 5. ร้อยละ 20 ของ รพศ.รพท.และ ร้อยละ 5 ของ รพช.มีการจัดบริการ เวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ตามที่กำหนด 6. ร้อยละ 20 ของ รพ.สต. มีการ จัดบริการคลินิกสุขภาพเกษตรกร แหล่งข้อมูล : จากการสำรวจ และประเมินผล โดยกรมอนามัยร่วมกับ สสจ. 28/08/2557
14
เอกสารแนบ
15
มาตรการที่ 1 การบังคับใช้กฎหมาย
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1. ร้อยละ 50 ของเทศบาลทุกระดับมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน (กระทรวง และเขต) 2. คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ที่กำหนด (จังหวัด) กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด 1. พัฒนา ปรับปรุงและผลักดันการออกกฎกระทรวง ประกาศกระทรวง คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข และมาตรฐานทางวิชาการ 1. สนับสนุน การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ.) 2.ส่งเสริมการประเมินความเสี่ยงและการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA ในการจัดการเหตุรำคาญให้สสจ. สสอ. และ อปท. 1 . จัดประชุมอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด(อสธจ.)อย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง และดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ของ อสธจ. และแนวทางที่กำหนด 2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลการดำเนินงานด้านกฎหมาย ฯ ของ อปท. 3. จัดทำสถานการณ์การออกข้อบัญญัติของ อปท. ระดับเขต 2. สนับสนุนและให้คำปรึกษา อปท. ในการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น /การบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนจากเหตุรำคาญ 3. พัฒนาหลักสูตร วิชาการ นวัตกรรม จัดการความรู้ และต้นแบบการดำเนินงานด้านกฎหมาย 4. พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานสาธารณสุขทุกระดับ ด้านวิชาการและกฎหมาย 5. พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานท้องถิ่นด้านวิชาการและกฎหมาย 3. จัดทำสถานการณ์การออกข้อบัญญัติของอปท. ระดับจังหวัด 4. สนับสนุนวิทยากร คู่มือ เอกสารวิชาการ ชุดความรู้ 28/08/2557
16
มาตรการที่ 2 พัฒนามาตรฐานการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท.
มาตรการที่ 2 พัฒนามาตรฐานการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1. ร้อยละ50 ของเทศบาลทุกระดับมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน(กระทรวงและเขต) กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด 1. จัดทำมาตรฐานกระบวนงานอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับ อปท. 2. พัฒนา ปรับปรุงเกณฑ์ และระบบการประเมินรับรองฯ 3. พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและผู้ตรวจประเมินรับรองคุณภาพระบบฯ 5. ฝึกอบรมผู้ตรวจประเมินระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม 6. จัดทำระบบฐานข้อมูล/สารสนเทศ ของการพัฒนาคุณภาพระบบฯ ของ อปท. ระดับประเทศ 7. พัฒนาวิชาการ นวัตกรรม จัดการความรู้ และต้นแบบการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 8. สนับสนุนวิทยากร คู่มือ เอกสารวิชาการ ชุดความรู้ 9. จัดประกวดสุดยอดส้วมแห่งปีระดับประเทศ 10. รณรงค์ล้างส้วมพร้อมกันรับวันสงกรานต์ 1. พัฒนาศักยภาพ สสจ. เป็น Instructor, facilitatorและ Inspector เพื่อพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของอปท. 2. ประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของอปท. 3. ฝึกอบรมการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ สสจ.สสอ. และ อปท. 4. ติดตามผลการประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของอปท. 5. จัดทำระบบฐานข้อมูลด้านการพัฒนาคุณภาพระบบฯ ของ อปท. ระดับเขต 6.ฝึกอบรมการกำจัดขยะอย่างถูกหลักสุขาภิบาลให้สสอ. และ อปท. 7. ฝึกอบรมการบำบัดสิ่งปฎิกูลให้สสอ. และ อปท. 8. จัดประกวดสุดยอดส้วมแห่งปีระดับเขต 1. ให้คำแนะนำ สนับสนุนการพัฒนา และประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 2. ตรวจประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 3. จัดทำระบบฐานข้อมูลด้านการพัฒนาคุณภาพระบบฯ ของ อปท. 4. พัฒนาชุมชน/หมู่บ้าน/อปท. บ้านสะอาดต้นแบบโดยการคัดแยกมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด 5. ส่งเสริมการพัฒนาส้วมสาธารณะให้ได้มาตรฐาน HAS 6. จัดประกวดสุดยอดส้วมแห่งปีระดับจังหวัด 7. รณรงค์ล้างส้วมพร้อมกันรับวันสงกรานต์ 28/08/2557
17
ในหน่วยบริการสาธารณสุข สังกัด สธ.
มาตรการที่ 3 พัฒนาคุณภาพการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ในหน่วยบริการสาธารณสุข สังกัด สธ. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ของมูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการถูกต้อง (ระดับจังหวัด) รพ.สธ. ทุกแห่ง มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย (ระดับจังหวัด) 3. ร้อยละ 20 ของ รพศ. รพท. และร้อยละ 5 ของ รพช. มีการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ตามมาตรฐาน (ระดับจังหวัด) 4. ร้อยละ 20 ของ รพ.สต. มีการจัดบริการคลินิกสุขภาพเกษตรกร (ระดับจังหวัด) กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด 1. พัฒนาหลักสูตรอบรมระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ สำหรับเจ้าหน้าที่ รพ. และสนับสนุนคู่มือ วิชาการ ชุดความรู้ฯ 1. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ. ตามหลักสูตรที่กำหนด 1. สนับสนุน แนะนำทางวิชาการด้านการจัดการมูลฝอยติดเชื้อแก่ รพ. 2. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ประเมินและรับรองระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อระดับเขตและจังหวัด 2. กำกับ ติดตามการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาล 2. ตรวจประเมิน และรับรองระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของ รพ. 3. สำรวจสถานการณ์การจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ. และประเมินเชิงคุณภาพของระบบการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขปัญหา 3. สำรวจเชิงคุณภาพโดยร่วมกับหน่วยงานภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง ด้านการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของเขต เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขปัญหา ระดับเขต 3. กำกับ ดูแล ตรวจสอบระบบการขนส่ง และกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของ รพ ให้เป็นไปตามกฎหมาย 4. พัฒนาระบบฐานข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อใน รพ. 4. จัดทำฐานข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ เฝ้าระวังการลักลอบทิ้งมูลฝอยติดเชื้อในเขต 4. สนับสนุนให้ทุก รพ. จัดทำระบบฐานข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ 5. พัฒนาต้นแบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ 5. จัดทำฐานข้อมูลด้านอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมระดับเขต 5.จัดทำฐานข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อของจังหวัด 6. สนับสนุนแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยแลtเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับหน่วยบริการสาธารณสุข 6. สนับสนุน รพ.ในพื้นที่ ในการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 7. ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ด้านอาชีวอนามัย และ เวชกรรมสิ่งแวดล้อม 7. สนับสนุนการจัดบริการคลินิกสุขภาพเกษตรกร ใน รพ.สต. 8. พัฒนามาตรฐานงานเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 8. จัดทำฐานข้อมูลด้านอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของจังหวัด 9. พัฒนาศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 10. จัดทำระบบฐานข้อมูลระดับประเทศด้านอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อการเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน 28/08/2557
18
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน
มาตรการที่ 4 การเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขปัญหา เตือนภัย และสื่อสารสาธารณะ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย มีระบบเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล สถานการณ์และ การเตือนภัยสุขภาพจากปัญหาสิ่งแวดล้อม (กระทรวง) กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด 1.จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย การแก้ไขปัญหาฯ 1. จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาฯ ระดับเขต 1. จัดทำระบบข้อมูล และสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพระดับจังหวัด 2. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย 2. จัดทำฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และวิเคราะห์สถานการณ์ฯ ระดับเขต 2. ตั้งทีมดำเนินการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ 3. สนับสนุนจังหวัดในการดำเนินการเฝ้าระวัง เตือนภัย และสื่อสารสาธารณะในพื้นที่เสี่ยง 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากร สสอ. และ รพสต. ด้านการเฝ้าระวังฯ 4. พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ 4.พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยของจังหวัด 4. สื่อสาร และเตือนภัยประชาชนในพื้นที่ 5. วิเคราะห์ และพยากรณ์สถานการณ์ เพื่อการสื่อสาร และเตือนภัย 5. กำกับ ติดตาม และประเมินผล 6. พัฒนาวิชาการ นวัตกรรม จัดการความรู้ และต้นแบบการดำเนินงาน 6. ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและเตือนภัย 7. พัฒนาความร่วมมือภาคเครือข่ายทั้งหน่วยงานภายใน และภายนอกกระทรวงฯ 8. สำรวจสถานการณ์ฯ ระดับประเทศ ปีละ 1 ครั้ง 28/08/2557
19
กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน
มาตรการที่ 5 เสริมสร้างบทบาทภาคประชาชน ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย: มี อสม. ดีเด่นด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด (จังหวัด) กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด สร้างกลไกเพื่อส่งเสริมความร่วมมือภาคประชาชนในการเฝ้าระวัง และเตือนภัยฯ 1. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือภาคประชาชนในการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ 1. อบรม อสม.ให้มีความรู้ มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและมีบทบาทในการให้ความรู้เพื่อปรับพฤติกรรม ปชช. 2. จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมการเฝ้าระวังฯ สำหรับ อสม. 2. พัฒนาต้นแบบการสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชนเรื่องการเฝ้าระวังฯ 2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเฝ้าระวังฯแก่แกนนำชุมชน 3. จัดทำชุดความรู้ด้านการเฝ้าระวังฯสำหรับประชาชน 3. พัฒนาศักยภาพ อสม. เพื่อดำเนินการด้านส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยของประชาชน 3. สื่อสาร เตือนภัยให้ความรู้ด้านการเฝ้าระวังฯ 4. จัดทำเกณฑ์การสรรหา อสม. ดีเด่นด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. สรรหา อสม.ดีเด่นด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด 28/08/2557
20
กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน
มาตรการที่ 6 พัฒนากลไก และโครงสร้างการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย: มีโครงสร้างการดำเนินงานฯ ที่ชัดเจนและเชื่อมโยงทุกระดับ (จังหวัด) กิจกรรม/การดำเนินงาน/การสนับสนุน ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด 1. พัฒนาให้มีระบบงาน และกลไก การดำเนินงานที่ชัดเจนและเชื่อมโยงทุกระดับ 1. จัดให้มีผู้รับผิดชอบ และโครงสร้างการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย ในทุกจังหวัด 1. กำหนดผู้รับผิดชอบหลัก ในโครงสร้างการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและ อาชีวอนามัยของจังหวัด 2. ทบทวน และปรับปรุงกระบวน การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ 2. สนับสนุนให้มี/เข้าร่วมในกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนงานสิ่งแวดล้อมและสุขภาพระดับเขต 2. จัดทำแผนปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของจังหวัด ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 3. สร้างเครือข่ายการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ 3. กำกับ ติดตาม และประเมินผล 3. สนับสนุนให้มี/เข้าร่วมในกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนงานฯ ระดับจังหวัด 28/08/2557
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.