ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThanid Suttirat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
Deep Low & Tropical Storm
2
Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
6
Trough Low from Andaman Sea ( ต่อ ) สมมติฐาน อุณหภูมิระดับน้ำทะเล มีค่าสูงกว่า ปกติ Sea Surface Temperature (SST) above normal
7
Sea Surface Temperature (SST)
8
Sea Surface Temperature (SST) ( ต่อ )
12
Sea Surface Temperature (SST) Outgoing Longwave Radiation (OLR)
13
หลักการ : บริเวณที่มีอุณหภูมิน้ำทะเล สูง ทำให้เกิดการยกตัวของอากาศใน แนวตั้งมากขึ้น บรรยากาศจะได้รับ ความชื้นสูง เมฆก่อตัวได้ดี ทำให้การ แผ่รังสีออกมาได้น้อย เนื่องจากเมฆ ดูดซับรังสีเอาไว้ไม่ให้ออกไปสู่ บรรยากาศได้ง่ายขึ้น
14
Outgoing Longwave Radiation ( ต่อ )
15
Drier-than- normal conditions, positive OLR anomalies (yellow/red shading) Wetter-than- normal conditions, negative OLR anomalies (blue shading)
16
เหตุ : บริเวณทะเลอันดามันและอ่าวเบ งกอล มีค่าอุณหภูมิระดับน้ำทะเลสูง กว่าค่าปกติ ผล : บริเวณทะเลอันดามันและอ่าวเบ งกอล มีค่าการแผ่รังสีคลื่นยาวออก ไปสู่บรรยากาศน้อย เกิดเมฆยกตัวใน แนวตั้ง อากาศมีความชื้นสูง Outgoing Longwave Radiation ( ต่อ )
17
การมาล่าช้าของอากาศ หนาว สาเหตุ – Trough Low from Andaman Sea – Polar Front Jet Stream – Easterly Wind
18
Polar Front Jet Stream เหตุ : Polar Front Jet Stream เป็น ตัวการที่ทำให้บริเวณความกดอากาศสูง หรือมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่ไปทาง ตะวันออกได้เร็วขึ้น ผล : บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวล อากาศเย็นจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เคลื่อนตัวไปทางตะวันออกและไม่แผ่ลง มาปกคลุมบริเวณประเทศไทยได้อย่าง เต็มที่
19
Polar Front Jet Stream ( ต่อ ) Animation
20
การมาล่าช้าของอากาศ หนาว สาเหตุ – Trough Low from Andaman Sea – Polar Front Jet Stream – Easterly Wind
21
Easterly Wind เหตุ : บริเวณความกดอากาศสูงหรือ มวลอากาศเย็นจากสาธารณรัฐประชาชน จีน เคลื่อนที่ไปทางตะวันออกสู่ มหาสมุทรแปซิฟิก ( ด้วยอิทธิพลของ Polar Front Jet Stream) ทำให้เกิดลม ฝ่ายตะวันออกพัดปกคลุมประเทศไทย ผล : ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลม ฝ่ายตะวันออกพัดปกคลุม ทำให้ได้รับ ความชื้นจากทะเลจีนใต้มากขึ้น จึง ส่งผลให้อุณหภูมิไม่ลดลงมาก
22
Easterly Wind ( ต่อ )
24
ข้อสังเกตสภาพอากาศ แปรปรวน ๑. การล่าช้าของอากาศหนาวในปีนี้ ๒. แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) ๓. สรุป
25
แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) ตามคาดหมายของกรมอุตุนิยมวิทยา ระบุว่าฤดูหนาวในปีนี้ อุณหภูมิจะสูงกว่าค่าปกติ
26
แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ )
30
ต่ำกว่าค่า ปกติ ใกล้เคียง ค่าปกติ สูงกว่าค่า ปกติ - 1.5 ° - 0.8 ° - 0.5 ° - 0.2 ° ±0 ° +0.2° +0. 5° +0. 8° +1. 5° TMD CPC ECM WF BCC
31
แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) แผนกภูมิอากาศ กขอ. คปอ. ขอ คาดหมายแนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) - อุณหภูมิใกล้เคียงค่าปกติ ถึง สูงกว่า ค่าปกติเล็กน้อย - สิ้นสุดประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ ตามปกติ - กรณีเกิดสภาพอากาศหนาวเย็น หลังจากกลางเดือนกุมภาพันธ์เป็นต้น ไป คาดว่าตัวการสำคัญคือ Westerly ซึ่งทางแผนกภูมิอากาศจะติดตามเป็น ระยะๆ
32
ข้อสังเกตสภาพอากาศ แปรปรวน ๑. การล่าช้าของอากาศหนาวในปีนี้ ๒. แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) ๓. สรุป
33
สรุป – การล่าช้าของอากาศหนาวในปีนี้ เกิดจาก ๓ ตัวการหลักๆ ได้แก่ Trough Low from Andaman Sea Polar Front Jet Stream Easterly Wind
34
สรุป ( ต่อ ) – แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) อุณหภูมิใกล้เคียงค่าปกติ ถึง สูง กว่าค่าปกติเล็กน้อย ความยาวนานตามระยะปกติของ ฤดูกาล Westerly จะเป็นตัวการหลักใน การยืดระยะเวลา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.