งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาพื้นที่พิเศษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาพื้นที่พิเศษ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

2 โครงการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จวชต.
โครงการฟื้นฟูพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว โครงการพัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

3 1. โครงการฟื้นฟูพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว (งบปกติ)
ดำเนินการในพื้นที่ประชาคม หมู่บ้าน 1. ปัตตานี , ไร่ ครัวเรือน 2. ยะลา ไร่ ครัวเรือน 3. นราธิวาส ไร่ ครัวเรือน 4. สตูล ไร่ ครัวเรือน 5. สงขลา ไร่ ครัวเรือน

4 วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงพื้นที่นาร้าง ให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์
1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่นาร้าง ให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์ ในการปลูกข้าวได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และเพียงพอต่อการบริโภค 2 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำนา ควบคู่ไปกับการประกอบ อาชีพอื่นได้อย่างยั่งยืน

5 ปรับปรุงพื้นที่นาร้างให้เหมาะสม
เป้าหมาย ปัตตานี 1, ไร่ ปรับปรุงพื้นที่นาร้างให้เหมาะสม ต่อการปลูกข้าว ในพื้นที่ 4, ไร่ ยะลา ไร่ นราธิวาส ไร่ สตูล ไร่ สงขลา ไร่

6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ พื้นที่นาร้างได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ
ในการผลิตข้าวได้ 4, ไร่ 1 พื้นที่นาร้างที่ได้รับการปรับปรุงมีผลผลิตเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 400 กิโลกรัม/ไร่ 2 เกษตรกรไม่น้อยกว่า คน ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการปลูกข้าวที่ถูกต้อง 3

7 กิจกรรมและปัจจัยการผลิต
กรม พัฒนาที่ดิน ไถปรับพื้นที่ (ไถดะ ไถแปร คราด) ปรับปรุงดิน (ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ) กรม การข้าว สนันสนุนปุ๋ยเคมี 20 กก/ไร่ สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว 15 กก/ไร่ อบรมเกษตรกร ราย กรม ส่งเสริมการเกษตร อบรมเกษตกรร่วมกับกรมการข้าว ปฏิบัติงานในพื้นที่

8 2. โครงการพัฒนาการผลิตข้าวในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (งบ SP2)
โครงการพัฒนาระบบ การผลิตและกระจาย เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี (ศูนย์ข้าวชุมชน) โครงการผลิตข้าว ปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร จังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล

9 ศูนย์ข้าวชุมชน 15 ศูนย์ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวปัตตานี สงขลา 2 ศูนย์
ศูนย์ข้าวชุมชน 15 ศูนย์ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวปัตตานี สงขลา 2 ศูนย์ ยะลา 2 ศูนย์ ศูนย์วิจัยข้าวปัตตานี ปัตตานี 4 ศูนย์ นราธิวาส 5 ศูนย์ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง สตูล 4 ศูนย์

10 วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ชาวนา มีการผลิตและกระจาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ชาวนา มีการผลิตและกระจาย เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีไว้ใช้อย่างเพียงพอและต่อเนื่อง 2 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาชาวนาให้มีความสามารถ ในการผลิตและการตลาดข้าวเป็นชาวนามืออาชีพ รวมทั้งสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง

11 จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน จำนวน
เป้าหมาย ปัตตานี 4 ศูนย์ จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน จำนวน 15 ศูนย์ ยะลา 2 ศูนย์ นราธิวาส 5 ศูนย์ สตูล 2 ศูนย์ สงขลา 2 ศูนย์

12 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีเมล็ดพันธุ์ดี ศูนย์ละ 50 ตัน สำหรับกระจายพันธุ์ในฤดูต่อไป ในพื้นที่ 2,600 ไร่ 2. เกษตรกรที่มีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีศูนย์ละ 20 ราย มีรายได้ เพิ่มขึ้น 3. เกษตรกรที่รับการกระจายพันธุ์ข้าวพื้นที่ 2,600 ไร่ต่อศูนย์ ในปีต่อไป ลดต้นทุนการผลิตลงไม่น้อยกว่าไร่ละ 1,000 บาท 4. องค์กรเกษตรกรผู้ปลูกข้าวมีความเข้มแข็ง จำนวน 15 ศูนย์

13 ปัจจัยการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าว 44,760 กิโลกรัม
เมล็ดพันธุ์ข้าว 44,760 กิโลกรัม กระสอบบรรจุเมล็ดพันธุ์ 22,500 ใบ มุ้งไนล่อน ม้วน ปุ๋ยเคมี ตัน

14 กิจกรรมศูนย์ข้าวชุมชน
จัดเวทีชุมชน 1 วิเคราะห์เมล็ดพันธุ์ 2 ประชุมกรรมการ ศขช. ระดับจังหวัด 3 อบรมชาวนาจัดทำแปลง 4 อบรมชาวนาชั้นนำ 5 ติดตามนิเทศงานและ GAP Seed 6

15 ศูนย์วิจัยข้าวปัตตานี
โครงการผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ ของกลุ่มเกษตรกรจังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล ศูนย์วิจัยข้าวปัตตานี จ.สงขลา 428 ไร่ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ 100 ไร่ ต.น้ำขาว อ.จะนะ 328 ไร่ จ. สตูล 213 ไร่ ต.แป-ระ อ.ท่าแพ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพัทลุง

16 วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสามารถผลิต ข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล เพียงพอในครัวเรือนและสามารถจำหน่ายเป็นสินค้าคุณภาพของจังหวัดได้

17 เป้าหมาย พัฒนากลุ่มเกษตรกร ผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้
ผู้ปลูกข้าวให้เป็น กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต ข้าวปลอดสารพิษและ ข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ จ.สงขลา และ จ.สตูล จำนวน 641 ไร่ ผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้ อย่างน้อย 250 ตัน

18 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 ผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขอนามัยและมาตรฐานสากล เป็นสินค้าอาหารปลอดภัย (Food Safety) จำนวนอย่างน้อย ตัน 2 เกษตรกรสามารถจำหน่ายข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ได้ราคาสูงกว่าข้าวทั่วไปอย่างน้อย 20 % 3 กลุ่มเกษตรกรในโครงการสามารถบริหารจัดการองค์กรได้ด้วยตนเองอย่างน้อย 3 กลุ่ม 4 เกษตรกรบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องและยั่งยืนสืบไป Company Logo

19 สวัสดีครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาพื้นที่พิเศษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google