ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
2
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
คาปาซิเตอร์มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) ไมโครฟารัด (uF) หรือ MFD และ นาโนฟารัด (nF) ดังนั้น 1 F = 1,000,000 uF 1 uF = 1,000 nF 1 nF = 1,000 pF
3
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์ ตัวเก็บประจุจะบอกลักษณะอยู่ทั้งหมด 3 แบบ คือ 1. บอกเป็นตัวเลขค่าความจุ 2. บอกเป็นตัวเลข 3. บอกเป็นแถบสี
4
การอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลข
คาปาซิเตอร์ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีความจุสูง และบอกอัตราทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดมาด้วย จากรูปสามารถอ่านได้ 1500 ไมโครฟารัด ทนแรงดันสูงสุดที่ 35 โวลท์
5
ทนแรงดันสูงสุดที่ 100 โวลท์ ตัวที่ 2 สามารถอ่านได้
ตัวที่ 1 สามารถอ่านได้ 10 ไมโครฟารัด ทนแรงดันสูงสุดที่ 100 โวลท์ ตัวที่ 2 สามารถอ่านได้ ทนแรงดันสูงสุดที่ 250 โวลท์
6
1 0 และเติมศูนย์อีกสองตัว จะได้
คาปาซิเตอร์ชนิดนี้จะบอกเป็นตัวเลขมา 3 ตำแหน่งด้วยกัน โดยที่ ตัวที่หนึ่งจะเป็นตัวตั้งหลักที่หนึ่ง ตัวที่สองจะเป็นตัวตั้งหลักที่สอง และตัวเลขตัวที่สามจะเป็นตัวเติมเลขศูนย์ลงไป(หรือตัวคูณก็ได้) หน่วยที่ได้จะเป็นพิโกฟารัด เสมอ จากรูป 1 0 และเติมศูนย์อีกสองตัว จะได้ 1000 pF หรือ 1 nF(หารด้วย1,000) หรือ uF (หารด้วย 1,000,000)
7
ตัวอย่างการอ่านค่าตัวเก็บประจุ
pF 150 nF 0.15 uF
8
การอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลข
9
การอ่านแบบที่บอกเป็นแถบสี
การอ่านแบบที่บอกเป็นแถบสี หลักอ่านจะคล้ายกับตัวต้านทาน การอ่านค่าสีตัวคาปาซิเตอร์ เหลือง จะเป็นตัวตั้งหลักที่หนึ่ง มีค่า 4 ม่วง จะเป็นตัวตั้งหลักที่สอง มีค่า 7 เหลือง จะเป็นตัวคูณ มีค่า x10000 ขาว จะเป็นเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาด มีค่า 10 % แดง จะเป็นอัตราทนแรงดันไฟฟ้า มีค่า 200 V ดังนั้นสามารถอ่านได้ pF หรือ 0.47 uF
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.