งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
วิชา งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน

2 งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน และชิ้นส่วนเครื่องยนต์
หน่วยที่ 1 วัฏจักรการทำงาน และชิ้นส่วนเครื่องยนต์

3 วัฏจักรการทำงานและชิ้นส่วนเครื่องยนต์
จุดมุ่งหมายของหน่วยเรียน 1. อธิบายสาระสำคัญประจำหน่วยได้ 2. อธิบายวัฏจักรการทำงานและสมรรถนะเครื่องยนต์ได้ 3. แนะนำคุณลักษณะลูกสูบและผลกระทบจาก ความร้อนได้ 4. อธิบายการทำงานของเพลาสมดุลลดการสั่นสะเทือน เครื่องยนต์ได้ 5. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ประณีต รอบคอบและตระหนักถึง ความปลอดภัย

4 กลไกการเคลื่อนที่ชิ้นส่วน
แรงลูกสูบทางตรง หมุนเพลาข้อเหวี่ยง เพลาข้อเหวี่ยงหมุน ดันลูกสูบขึ้นบน กลไกการเคลื่อนที่ของเครื่องยนต์ (ENGINE MOTION)

5 ความร้อนจากการทำงานเครื่องยนต์
ความเร็วไอดี 360 ม./วินาที ลิ้นไอดี 400 o ซ. ไฟจุดระเบิด 20,000 โวลต์ แก๊สเผาไหม้ร้อน 2,500 o ซ. ลิ้นไอเสียร้อน 800o ซ. ไอเสียร้อย 1,000o ซ. แรงผลักดันลูกสูบ 50 กก./ซม.2 แรงขับเพลาข้อเหวี่ยง 8,400 นิวตัน

6 การทำงานเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
ลิ้นไอดี ลิ้นไอเสีย จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะงาน จังหวะคาย

7 พิกัดขนาดห้องเผาไหม้
น้ำหนักต่อกำลังและกำลังต่อปริมาตร น้ำหนัก กำลังต่อ ประเภทเครื่องยนต์ ต่อกำลัง ปริมาตร (kg/kW) (kW/ลิตร) เครื่องจักรยานยนต์ เครื่องเบนซินรถนั่ง เครื่องเบนซินรถบรรทุก เครื่องโรตารี่ เครื่องดีเซลรถนั่ง เครื่องดีเซลรถบรรทุก เครื่องกังหันแก๊ส ห้องอัด ระยะชัก ขนาด ขนาด ระยะชัก

8 การกำหนดกำลังเครื่องยนต์
ประเภทการกำหนดกำลังเครื่องยนต์ มาตรฐาน DIN มีหน่วยเป็น PS ทดสอบ เหมือนสภาพใช้งานจริง คือใส่หม้อกรอง อากาศ หม้อพักไอเสีย พัดลมปั๊มน้ำ อัลเตอร์เนเตอร์ มาตรฐาน SAE สูงกว่ามาตรฐาน DIN 10-25% ทดสอบโดยไม่ใส่หม้อกรองอากาศ หม้อพักไอเสีย พัดลมปั๊มน้ำและอัลเตอร์- เนเตอร์ มาตรฐาน ISO ทดสอบเหมือนมาตรฐาน DIN คือใช้ตาม DIN แรงบิดหรือทอร์ก คือแรงที่ทำให้วัตถุหมุน การสิ้นเปลืองน้ำมัน หมายถึงการสิ้นเปลือง น้ำมันเชื้อเพลิงที่ตรวจวัดโดยแท่นทดสอบ เครื่องยนต์ ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงไปกี่กรัมด้วย ภาระเครื่องยนต์คงที่ 1 kW ใน 1 ชั่วโมง กำลังเครื่องยนต์ แรงบิด สิ้นเปลืองน้ำมัน ความเร็วรอบเหมาะใช้งาน ความเร็วรอบเครื่องยนต์ (รอบ/นาที) กำลังเครื่องยนต์ สิ้นเปลืองน้ำมัน แรงบิด

9 ลูกสูบแบบเจาะรูที่ท้องร่องแหวนอัด
คุณลักษณะลูกสูบ ลูกสูบแบบเจาะรูที่ท้องร่องแหวนอัด ร่องแหวนอัดตัวบน ร่องแหวนน้ำมัน เจาะหลายรู ลูกสูบแบบผ่า (Slit Type Piston) ร่องน้ำมันเครื่อง รูน้ำมันเครื่อง ลูกสูบแบบเจาะรูที่ ท้องร่องแหวน น้ำมัน(Thermal Flow Type Piston) ลูกสูบเสริมแผ่นเหล็ก

10 อุณหภูมิการทำงานลูกสูบ
ลูกสูบเครื่องยนต์ดีเซล ลูกสูบเครื่องยนต์เบนซิน ใช้ห้องเผาไหม้แบบ 2 ชั้น หล่อเย็นด้วยน้ำ ใช้ห้องเผาไหม้แบบพาวน หล่อเย็นด้วยอากาศ ใช้ห้องเผาไหม้แบบเปิด 400oซ. 300oซ. 200oซ. 300oซ oซ oซ oซ oซ oซ. อุณหภูมิการทำงาน

11 รูปทรงลูกสูบและระยะห่างหล่อลื่น
3. ระยะห่างหล่อลื่นลูกสูบ (Piton Clearance) กระบอกสูบ ลูกสูบ 1. ลูกสูบเย็นเรียว ลูกสูบร้อนไม่เรียว (Cold Piston) (Hot Piston)

12 รูปทรงลูกสูบเป็นวงรี
2. ขนาด C เล็กกว่า D (สำหรับลูกสูบเป็นทรงเรียว) ขนาด เล็กกว่า D รูปทรงลูกสูบเป็นวงรี (Cam-Ground Piston) 1. ขนาด A เล็กกว่า B (ชายลูกสูบเป็นวงรี)

13 แรงปะทะกระบอกสูบจากลูกสูบ
ความดันจังหวะอัด การทำงานของลูกสูบ แบบเยื้องศูนย์กลาง ความดันจังหวะงาน จังหวะอัด ความดันจาก จังหวะงาน ก่อนถึงศูนย์ ตายบนจังหวะอัด 1. การเกิดแรงปะทะ แรงปะทะทางขึ้น จากความดัน จังหวะอัด ด้านข้าง หลัก แรงปะทะทางลง จากความดัน จังหวะงาน

14 แรงไม่สมดุลในเครื่องยนต์
แรงทางตรง (Inertial Force) แรงเหวี่ยง (Centrifugal Force) แรงไม่สมดุลในเครื่องยนต์ (Unbalancing Forces in Engine)

15 แรงไม่สมดุลในเครื่องยนต์
1. กลไกเพลาสมดุลหมุนสวนทางกัน เพลาสมดุลขวา เพลาสมดุลซ้าย สายพานไทมิ่ง ล้อสายพานเพลาข้อเหวี่ยง 2. เพลาสมดุล เพลาสมดุล ล้อสายพานเพลาข้อเหวี่ยง

16 วัฏจักรการทำงานและ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์
จบหน่วยที่ 1 วัฏจักรการทำงานและ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์


ดาวน์โหลด ppt งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google