งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
ระบบยา โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ 2 มีนาคม 2551

2 เป้าหมาย ถูกต้อง ปลอดภัย เหมาะสม
ลดความคลาดเคลื่อน (error) และอาการไม่พึงประสงค์(Adverse event) จากการใช้ยา

3 PTC สารสนเทศ RM ระบบยา IC สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย CLT

4 PTC (Pharmacy and Therapeutic Committee)
บทบาทหน้าที่ กำหนดนโยบายด้านยา ทบทวนการใช้ยา เพื่อประกอบการพิจารณายาเข้า-ออก ปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ ทบทวนวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ME และวางระบบการป้องกัน ติดตามและประเมินการเกิด ADR และให้ข้อเสนอแนะมาตรการป้องกัน

5 ประชุมปีละ 2 ครั้ง ช่วงปรับเปลี่ยนบุคลากร (พฤษภาคม) ช่วงเปลี่ยนปีงบประมาณใหม่ (ตุลาคม)

6 1.ระบบการกระจายยา:ผู้ป่วยใน
นโยบาย/ระบบงาน 1.ระบบการกระจายยา:ผู้ป่วยใน Daily dose จ่ายถึงมื้อเที่ยงของวันถัดไป การจัดยา จัดใส่ซองเหมือนผู้ป่วยนอก ตรวจสอบข้อมูลระหว่างหน่วยงานโดยใช้ Copy Doctor order และ Drug profile กำหนดนโยบาย off ยาในหน้าปัจจุบัน, คืนยาทุกครั้งที่ off ยา/ D/C ,Review medication ทุก 14 วัน

7 2. ระบบการจ่ายยา: ผู้ป่วยนอก
แพทย์สั่งยาโดยระบบคอมพิวเตอร์ จ่ายยาโดยเภสัชกร มีระบบ Double check ระหว่างบุคคล ยกเว้นนอกเวลาราชการ (เวร BD) จะจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัชกรรม/เภสัชกร ซึ่งขึ้นปฏิบัติงานคนเดียว

8 3. ระบบความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error)
ประเภท Prescribing error Predispensing error Dispensing error Administration error ระดับความรุนแรง A - I

9

10

11

12 ระดับความรุนแรง (ปีงบประมาณ 2551)
ระดับความรุนแรง (ปีงบประมาณ 2551) OPD ระดับ ต.ค.50 พ.ย.50 ธ.ค.50 ม.ค.51 A-C 19.03% 15.96% 15.50% 11.99% D-F G-I IPD ระดับ ต.ค.50 พ.ย.50 ธ.ค.50 ม.ค.51 A-C 17.24% 27.21% 19.17% 30.86% D-F G-I

13 4. ระบบป้องกันอันตรายจากยาที่ต้องระมัดระวังสูง (High Alert drugs)
รายการยา Atropine Adrenaline Aminophylline Dopamine Digoxin KCL MgSO4 Morphine Pethidine

14 การจัดวางระบบ การจัดซื้อจัดหา/เก็บรักษา การสั่งใช้/ การจัดจ่าย
การบริหารยา/การติดตามการใช้ กำหนดคู่มือแนวทางการปฏิบัติ

15 Morphine injection 10 mg/ml , tab 10 mg
ชื่อ – สกุล________________________________________________อายุ__________ปี HN______________ Dx______________________________________________________________________________________ ให้ได้ทั้ง IM , IV , SC mg/dose ทุก 3-4 ชั่วโมง / Oral 30 mg ทุก 3-4 ชั่วโมง กรณีให้ทาง IV ; Dilute ด้วย Sterile water 9 ซีซี slowly push นาที ขึ้นไป Monitor BP  รายงานแพทย์เมื่อ BP < 90/60 mmHg 2.        หมดสติ , หลับปลุกไม่ตื่น 3.        กดการหายใจ  รายงานแพทย์เมื่อ RR < 14 ครั้ง/นาที  Dose แรก Monitor 5 นาที เมื่อฉีดยาและ 15 นาที , 30 นาที , 1 ชั่วโมงและทุก 4 ชั่วโมง  ต่อมา (ฉีดต่อเนื่อง) 15 นาที เมื่อฉีดยา และ 1 ชั่วโมง และทุก 4 ชั่วโมง Vital sign ก่อนให้ยา BP = ____________mmHg , HR = ________/min , RR__________/min เริ่มให้ยา ว.ด.ป._____________________ เวลา_____________น ผู้ฉีด________________________ หลังฉีดยา เวลา BP(mmHg) RR ครั้ง/นาที หมายเหตุ 5 นาที 30 นาที 1 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 8 ชั่วโมง Dose ต่อมา 15 นาที รายงานแพทย์เมื่อ BP < 90/60 mmHg และหรือ RR < 14 ครั้ง/นาที และหรือมีอาการหมดสติหลับปลุกไม่ตื่น ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

16 5. ระบบ Adverse drug reaction
ระบบ: Sponteneous reporting system การประเมิน : Naranjo’s Algorithm อุบัติการณ์การเกิด ADR เป้า 2548 2549 2550 2551 อุบัติการณ์การเกิดการแพ้ยา 16 37 13 อุบัติการณ์แพ้ยาซ้ำ

17 บันทึกการแพ้ยาในคอมพิวเตอร์
ออกบัตรแพ้ยาให้ผู้ป่วย ผู้ป่วยใน เภสัชกรติดสติ๊กเกอร์ “ผู้ป่วยแพ้ยา” บน chart aluminium และ ที่ Doctor order หน้าปัจจุบัน ชื่อ-สกุลผู้ป่วย ชื่อ-สกุลผู้ป่วย ผู้ป่วยแพ้ยา ระวังการใช้ยา

18 ระบบ :Intensive monitoring
ยากลุ่มเสี่ยงต่อการเกิด STSและ TEN เพื่อลดอาการรุนแรงของอาการ STS และ TEN ได้แก่ กลุ่มยาซัลฟา Cotrimoxazole กลุ่มยากันชัก Carbamazepine,Phenobarb, Phenytoin กลุ่มยาต้านเชื้อไวรัส NVP,GPO-vir กลุ่มยาเก๊าท์ Allopurinol

19 6. ระบบสำรองยา กำหนดรายการยาที่สำรองแต่ละหน่วยงานชัดเจน
มีระบบการตรวจสอบยาหน่วยงานที่สำรอง เดือนละ 1ครั้ง โดยหน่วยงานเภสัชกรรม

20 ตัวชี้วัด เป้า 2548 2549 2550 2551 มูลค่ายาหมดอายุ <1000 บาท 9,871.64 1,515.80 10,695.49 4,822.32 อัตรายาขาด ณ คลังยา <1 % - 0.22 0.17 0.44 อัตรามูลค่ายาคงคลัง <3 3.93 3.00 1.50 3.20

21 7. การประเมินการใช้ยา (DUE)
Ceftazidime จำนวนผู้ป่วยที่ใช้ Ceftazidime (ก.ย. 50-ม.ค.51) จำนวน 22 ราย สั่งใช้ยาด้วยเหตุผล Empirical therapy % ไม่มีการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับการทำงานของไต คิดเป็น 4.55 % ระยะเวลาที่ให้ยา มีความเหมาะสม 14 % มูลค่าการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม คิดเป็น 10, บาท

22 ยาที่จะทำต่อไป Clindamycin

23 8. Drug Reconciliation  จัดทำแนวทางในการบริหารจัดการยา Reconcile

24 ลดความคลาดเคลื่อนทางยา
จุดเน้นในปี 2551 Pateint safety ลดความคลาดเคลื่อนทางยา

25 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google