งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

2 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
1) ความตรง (Validity) 2) การหาค่าความยากง่าย (Difficulty) 3) การหาค่าอำนาจจำแนก (Discrimination Power) 4) ความเที่ยง (Reliability)

3 ความตรง (Validity) วิธีดำเนินการ R
ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (IOC-Index of Item Objective Congruence) วิธีดำเนินการ ให้ผู้เชี่ยวชาญตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามในเครื่องมือกับเนื้อหาที่ต้องการวัด จากนั้นนำผลการประเมินมาคำนวณค่า IOC โดยใช้สูตร IOC = R N เมื่อ R แทน ผลรวมของคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ เกณฑ์ตัดสิน IOC ควรมีค่ามากกว่า 0.5

4 ตัวอย่าง ตารางการหาค่า IOC
ความตรง (Validity) ตัวอย่าง ตารางการหาค่า IOC ตัวชี้วัดตามมาตรฐาน ผลการประเมิน -1 1 ข้อสอบ 2. 1. - 1 หมายถึง ไม่สอดคล้อง หมายถึง ไม่แน่ใจ 1 หมายถึง สอดคล้อง

5 ตัวอย่าง การคำนวณหาค่า IOC
ความตรง (Validity) ตัวอย่าง การคำนวณหาค่า IOC ข้อคำถาม คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 IOC ข้อ 1 1 4/5=0.8 ข้อ 2 -1 -1/5=-0.2 เกณฑ์การพิจารณา ข้อสอบที่ใช้ได้ คือ ข้อสอบที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป สรุป... ข้อสอบข้อ 1 มีความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม สามารถนำไปใช้สอบได้ ข้อสอบข้อ 2 ไม่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม ไม่ควรนำไปใช้ ต้องตัดทิ้ง หรือปรับปรุงใหม่

6 ความยากง่าย (Difficulty)
ระดับความยากง่าย หมายถึง สัดส่วน หรือเปอร์เซ็นต์ของจำนวนคนที่ตอบข้อสอบ ข้อนั้นถูกจากคนที่สอบทั้งหมดใช้สัญลักษณ์ “p”

7 ความยากง่าย (Difficulty) ค่าความยากง่าย (Difficulty Index)
มีค่าตั้งแต่ จนถึง 1.00 เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าความยากง่าย ค่า p = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นยากเกินไป ค่า p = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นค่อนข้างยาก ค่า p = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นยากง่ายปานกลาง ค่า p = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นค่อนข้างง่าย ค่า p = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นง่ายเกินไป เกณฑ์: ข้อสอบที่มีค่าความยากง่ายพอเหมาะ หรือมีคุณภาพดี ค่า p ใกล้เคียง 0.50 หรือ อยู่ระหว่าง 0.20 – 0.80

8 ความยากง่าย (Difficulty)
1. ตรวจและเรียงคะแนนรวมจากสูงสุดถึงต่ำสุด 4. วิเคราะห์ค่าความยาก (p) PH = —— PL = —— L TL H TH H รวมคะแนนกลุ่มสูง L รวมคะแนนกลุ่มต่ำ TH รวมคะแนนเต็มกลุ่มสูง TL รวมคะแนนเต็มกลุ่มต่ำ 2. แบ่งกลุ่มสูง (H) และกลุ่มต่ำ (L) 3. คำนวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายข้อที่ได้จำแนกตามกลุ่ม • p = ———— PH + PL 2

9 แบบสอบความเรียงมี 5 ข้อ แต่ละข้อคะแนนเป็น 10,10,20,30,30 คะแนน ตามลำดับ
ใช้สอบนักเรียน 8 คน ตรวจให้คะแนน และเรียงลำดับคะแนนจากมากไปน้อย (อันดับ 1-8) แบ่งนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม(เทคนิค 50%) ได้กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ กลุ่มละ 4 คน การวิเคราะห์ข้อสอบต้องรวมรายข้อของผู้สอบทุกคนแต่ละกลุ่ม ข้อ คะแนนเต็ม กลุ่มสูง (H) (4 คน) กลุ่มต่ำ (L) (4 คน) 1 2 3 4 5 6 7 8 10 9 20 15 17 30 25 24 16 13 11 รวม 100 80 70 68 61 60 48 43

10 ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้
คะแนน เต็ม กลุ่มสูง (4 คน) กลุ่มต่ำ PH PL Pi 1 10 37 40 28 .93 .70 .81 2 36 24 .90 .60 .75 3 20 67 80 42 .84 .53 .68 4 30 94 120 56 .78 .47 .62 5 43 26 .36 .22 .29 ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ ข้อ 5 ค่อนข้างยาก อำนาจำแนกต่ำ

11 ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination power)

12 ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination power)
มีค่าตั้งแต่ จนถึง 1.00 เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าอำนาจจำแนก ค่า r = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกไม่ได้เลย ค่า r = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้เล็กน้อย ค่า r = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้ปานกลาง ค่า r = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้ดี ค่า r = หมายความว่า ข้อสอบข้อนั้นจำแนกได้ดีมาก เกณฑ์ : ข้อสอบที่มีคุณภาพดี ค่า r ตั้งแต่ ขึ้นไป

13 ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination power)
1. ตรวจและเรียงคะแนนรวมจากสูงสุดถึงต่ำสุด 2. แบ่งกลุ่มสูง (H) และกลุ่มต่ำ (L) 3. คำนวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายข้อที่ได้จำแนกตามกลุ่ม H TH L TL PH = —— PL = —— H รวมคะแนนกลุ่มสูง L รวมคะแนนกลุ่มต่ำ TH รวมคะแนนเต็มกลุ่มสูง TL รวมคะแนนเต็มกลุ่มต่ำ 4. วิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนก (r) r = PH – PL

14 ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้
คะแนน เต็ม กลุ่มสูง (4 คน) กลุ่มต่ำ PH PL ri 1 10 37 40 28 .93 .70 .23 2 36 24 .90 .60 .30 3 20 67 80 42 .84 .53 .31 4 30 94 120 56 .78 .47 5 43 26 .36 .22 .14 ข้อ 1 ง่ายเกินไป อำนาจจำแนกต่ำ ข้อ 2 – ข้อ 4 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ ข้อ 5 ค่อนข้างยาก อำนาจำแนกต่ำ

15 การคัดเลือกข้อสอบที่มีคุณภาพ
-1 -.9 -.8 -.7 -.6 -.5 -.4 -.3 -.2 -.1 .1 .2 .3 .4 .5 .6 .7 .8 .9 1 ค่าความยากง่าย (p) 4 เกณฑ์: ข้อสอบที่มีคุณภาพ p = 0.20 – 0.80 r = ขึ้นไป 1 3 2 5 ค่าอำนาจจำแนก (r)

16 ความเที่ยง (Reliability)
การทดสอบโดยการหาความสอดคล้องภายในเป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบ ทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความ สัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ สูตรในการหาค่าความเชื่อมั่น: สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach) Alpha () =


ดาวน์โหลด ppt การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google