ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTak-sin Thawan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กระบวนการทำวิจัย เผยแพร่ผลงาน สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร บทความวิจัย
รายงานวิจัย หน้าข่าว … กำหนดหัวข้อ ทบทวน กำหนดประเด็น กำหนดกรอบแนวคิด กำหนดวิธี ดำเนินวิจัย วิเคราะห์&สรุป เผยแพร่ผลงาน ข้อเสนอโครงร่าง, ข้อเสนอ โครงการวิจัย
2
เครื่องมือสำคัญ ฐานข้อมูลวิชาการ และ search engine
การกำหนดหัวข้อ ศึกษา เลือก วิเคราะห์ เครื่องมือสำคัญ ฐานข้อมูลวิชาการ และ search engine
3
การวิเคราะห์
4
การกำหนด/เลือกประเด็นปัญหาและการกำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย
ตั้งคำถามง่ายๆในปัญหาที่สนใจให้ กระชับ รัดกุม โดยเริ่มด้วยคำถามเช่น หรือไม่ ทำไม อย่างไร อะไร การตั้งคำถามจะกำหนดกรอบแนวคิดและบ่งชี้ถึงถึงมิติของปัญหา การค้นหาคำตอบของคำถามนั้นคือประเด็นงานวิจัยของเราที่ต้องแสวงหาคำตอบ เลือกประเด็นปัญหาให้เหมาะสมโดยวิเคราะห์ (SWOT) ประเด็นที่เลือกเป็นที่สนใจ (hot topic, emerging technology, cutting-edge technology) มีความทันสมัย และมีประโยชน์
5
การกำหนดวิธีการวิจัย
การกำหนดแนวคิด การทดสอบแนวคิด การออกแบบเชิงระบบ การทดสอบเชิงระบบ การออกแบบระบบย่อย การทดสอบระบบย่อย การบูรณาการระบบ การทดสอบระบบ
6
กรณีศึกษา (1) กำหนดหัวข้อ วิเคราะห์
ปัญหาเรียนอ่อนของนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ ป ตรี วิเคราะห์ เราเหมาะสมกับปัญหานี้หรือไม่อย่างไร จุดแข็ง มีความรู้ประสบการณ์กับงาน, เป็นปัญหาในภารกิจหน้าที่ จุดอ่อน มีประสบการณ์การทำงานวิจัยทางสังคมศาสตร์น้อย โอกาส คณะ/มหาวิทยาลัยมีกลไกสนับสนุน, มีเจ้าหน้าที่หน่วยงานสนับสนุน อุปสรรค มีผู้เผยแพร่งานวิจัยนี้มาก่อน, มีข้อมูลสนับสนุนน้อย
7
กรณีศึกษา (2) ทบทวน กำหนด keywords สำคัญ เรียนอ่อน, ปริญญาตรี, วิศวกรรมศาสตร์, คะแนนสะสม ผลการค้นหา keywords ด้วย search engine
8
กรณีศึกษา (3) การกำหนดประเด็นปัญหา
สาเหตุที่น่าจะเป็นต้นตอ คุณภาพนักศึกษาเข้าคณะไม่ดี กระบวนการเรียนการสอนมีปัญหา ตีกรอบปัญหาให้แคบลง โดยอาจกำหนดประเด็น “นักศึกษาเรียนอ่อนเพราะมีปัญหาในวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในปีการศึกษาแรก ”
9
กรณีศึกษา (4) กำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย
เรียนอ่อนหมายถึงนักศึกษาที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 2.00 นักศึกษาหมายถึงนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์เฉพาะปี 1 รายวิชาพื้นฐานทางวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ปี 1 ได้แก่ วิชา คณิตศาสตร์กายภาพ 1,2 ฟิสิกส์ 1 2 และปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 และ 2 เคมีพื้นฐาน และ ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน 1 การทดลองควรต้องควบคุมคุณภาพนักศึกษาที่วิเคราะห์ จำนวนนักศึกษาและจำนวนปีในการทดลองต้องมีจำนวนมากพอและน่าเชื่อถือทางสถิติ
10
กรณีศึกษา (5) ประเด็นปัญหาที่ตีกรอบ
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ปี 1 ที่คะแนนสะสมเฉลี่ยต่ำกว่า 2.00 เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยรายวิชา คณิตศาสตร์(1,2) ฟิสิกส์และปฏิบัติการฟิสิกส์ (1,2) และ วิชาเคมีและปฏิบัติการเคมี ต่ำกว่า 2.00 ผลลัพธ์ของงาน ปัญหาการเรียนอ่อนมาจากปัญหาวิชาพื้นฐานมากน้อยเพียงใด ผลผลิตของงาน ข้อมูลเพื่อดำเนินการทางนโยบาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.