งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
เชื้อราเมตตาไรเซียม ควบคุมด้วงหนวดยาว โดย... นพวิชญ์ คำขะ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

2 ด้วงหนวดยาว (Stem boring grub)
แมลงกอก

3 ความสำคัญ เป็นแมลงศัตรูอ้อยที่สำคัญ ทำความเสียหายแก่อ้อยอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะที่เป็นตัวหนอน แพร่กระจายและทำลายเป็นบริเวณกว้าง ทำให้ผลผลิตอ้อยปลูกลดลง เปอร์เซ็นต์ น้ำตาลลดลง เปอร์เซ็นต์ ส่วนในอ้อยตอเสียผลผลิตประมาณ 54 เปอร์เซ็นต์ น้ำตาลลดลง 57 เปอร์เซ็นต์

4 วงจรชีวิต ระยะไข่ มีอายุ 11-27 วัน
ระยะไข่ มีอายุ วัน ระยะตัวหนอน มีอายุ 1-2 ปี ลอกคราบ 7-8 ครั้ง ระยะดักแด้ มีอายุ 7-18 วัน ระยะตัวเต็มวัย มีอายุ 6-20 วัน

5 รูปร่างลักษณะ ไข่ รูปยาวรี สีน้ำตาลอ่อน ยาว 3.0-3.5 มิลลิเมตร
ไข่ รูปยาวรี สีน้ำตาลอ่อน ยาว มิลลิเมตร กว้าง มิลลิเมตร หนอน สีขาวนวล ทรงกระบอก หัวกะโหลกสีน้ำตาล มีเขี้ยวแข็งแรง ขาขนาดเล็กมากแทบมองไม่เห็น ตัวยาว มิลลิเมตร กว้าง มิลลิเมตร

6 รูปร่างลักษณะ ประมาณ 40-50 มิลลิเมตร กว้าง 24-26 มิลลิเมตร
มีหนวด ขาและปีกอยู่ข้างลำตัว ความยาว ประมาณ มิลลิเมตร กว้าง 24-26 มิลลิเมตร สีน้ำตาลแดง ยาว มิลลิเมตร กว้าง 10-15 มิลลิเมตร ดักแด้ ดักแด้ ตัวเต็มวัย

7 สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
พบระบาดมากในสภาพดินร่วนปนทราย ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) 6.9 ดินมีซากอินทรียวัตถุ เปอร์เซ็นต์ พืชอาหารที่สำคัญได้แก่ อ้อย มันสำปะหลัง

8 การระบาดและทำลาย ตัวเต็มวัยจะออกจากดักแด้ในดินหลังฝนตก 2-4 วัน
ในเวลากลางคืน ช่วง มี.ค.-มิ.ย. ผสมพันธุ์และวางไข่เดี่ยวๆ บริเวณใกล้โคนกออ้อย ตัวเมียสามารถวางไข่ได้ ฟอง 11-27 วัน ฟักเป็นตัวหนอน เข้าทำลายอ้อย

9 การเข้าทำลาย การเจริญเติบโต เข้าทำลายอ้อยได้ ตั้งแต่ระยะ
เข้าทำลายได้เกือบตลอดอายุ การเจริญเติบโต เข้าทำลายอ้อยได้ ตั้งแต่ระยะ ท่อนพันธุ์เป็นต้นไป

10 เข้าทำลายทางโคนต้นใต้ดิน แล้วเจาะกินภายในลำ ต้น
ลักษณะการทำลาย หนอนเจาะไชเข้าไปกัดกินท่อนพันธุ์ ทำให้ไม่งอก เข้าทำลายทางโคนต้นใต้ดิน แล้วเจาะกินภายในลำ ต้น

11 ร่องรอยการทำลาย

12 หนอนด้วงหนวดยาวที่ขุดพบในแปลงอ้อย

13 การป้องกันกำจัด เพื่อลดปริมาณ
1. เก็บตัวหนอนในขณะที่ไถเตรียมดิน 1-2ครั้ง เพื่อลดปริมาณ 2.ใช้วิธีกล โดยขุดหลุมดักจับตัวเต็มวัย แล้วทำลาย 3.ปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อตัดทำลายวงจรชีวิต 4.ใช้สารเคมี 5.ชีววิธี เช่น เชื้อราเมตตาไรเซี่ยม

14 เชื้อราเมตตาไรเซียม ควบคุมด้วงหนวดยาว

15 เชื้อราเมตตาไรเซียม เมตตาไรเซียม (Metarhizium anisopliae) เป็นเชื้อราที่มีคุณสมบัติในการเป็นศัตรูธรรมชาติ ทำลายแมลงได้หลายชนิด รวมทั้งด้วงหนวดยาวเจาะลำต้นอ้อย(Dorysthenes buqueti, Guerin) สามารถทำลายด้วงได้ทุกระยะ ทำลายหนอนได้มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่ง

16 ลักษณะการทำลาย เมื่อเชื้อราเมตตาไรเซียมสัมผัสหรือติดไปกับตัวแมลง เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม เชื้อจะเจริญ เข้าไปในตัวแมลง และเพิ่มปริมาณ ทำให้แมลงเคลื่อนไหวช้าลง ไม่กินอาหาร และตายในที่สุด แมลงที่ตายลำตัวจะแข็งและมีเชื้อราสีเขียวขึ้นตามตัว เห็นได้ชัด

17 หนอนด้วงหนวดยาวที่ถูกเชื้อราฯทำลาย

18 การนำไปใช้ในการควบคุมด้วงหนวดยาว
ปัจจุบัน ได้มีการนำเชื้อราเมตตาไรเซียม มาเพาะเลี้ยงและผลิตขยายเพื่อเพิ่มปริมาณ แล้วไปใช้ในการควมคุมด้วงหนวดยาว โดยศูนย์ชีวินทรีย์แห่งชาติ ร่วมกับศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น ทำการศึกษาทดสอบ ในพื้นที่ปลูกอ้อย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น

19 การผลิตขยาย 1.การเตรียมหัวเชื้อ หนอนที่ตายด้วยเชื้อราฯ
เลี้ยงด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อ

20 2. วัสดุ-อุปกรณ์ 2.1 ข้าวสารเสาไห้ 2.2 หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
2.3 ทัพพีตักข้าว 2.4 ถุงพลาสติกทนร้อน ขนาด 8 x 12 นิ้ว 2.5 แม็กเย็บ หรือ ยางรัด 2.6 เข็มหมุด 2.7 แอลกอฮอล์สำหรับฆ่าเชื้อ

21 3. การผลิต หุงข้าว

22 บรรจุถุง ทิ้งไว้ให้เกือบเย็น

23 ใส่เชื้อ บ่มเชื้อ 7-10 วัน

24 เชื้อราเมตตาไรเซียมที่ บ่มเชื้อไว้ 7-10 วัน สามารถนำไปใช้ควบคุมด้วงหนวดยาวได้

25 การนำไปใช้ 1.โดยหว่านพร้อมการปลูก

26 2. ผสมน้ำราดพร้อมการปลูก

27 ไถกลบทันทีหลังการใส่เชื้อ

28 ขุดสำรวจหลังการใส่เชื้อฯ
หนอนที่ตายด้วยเชื้อรา

29 หนอนด้วงหนวดยาวที่ตายด้วยเชื้อราเมตตาไรเซียม

30 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
สวัสดี ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น ถนน มิตรภาพ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โทร


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google