งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม

2 สินค้า เครื่องดื่ม เป็นสินค้าที่กรมสรรพสามิต บริหารจัดเก็บภาษีโดยอาศัย อำนาจตามพระราชบัญญัติพิกัด อัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ ประเภทที่ 02

3 1. น้ำหรือน้ำแร่โดยธรรมชาติ
1. นิยามของสินค้า 1. น้ำหรือน้ำแร่โดยธรรมชาติ 2. น้ำกลั่นหรือน้ำกรองสำหรับดื่มโดยไม่ปรุงแต่ง 3. เครื่องดื่มซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตขึ้นเพื่อขายปลีกเองโดยเฉพาะอัน มิได้มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ด้วยทั้งมิได้สงวนคุณภาพ ด้วยเครื่องเคมี 4. น้ำนมจืด น้ำนมอื่นๆ ไม่ว่าจะปรุงแต่งหรือไม่/ทั้งนี้ตามารฐาน ที่กำหนด 5. เครื่องดื่มตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา

4 2. ปัจจุบันมีเครื่องดื่มที่เสียภาษี 3 ชนิด คือ
1. โซดา อัตราภาษี 25% (มูลค่า) 0.77 บาท/440 CC. (ภาชนะ) ปริมาณ 2. เครื่องดื่มโดยทั่วไป 20% (มูลค่า) 0.37 บาท/440 CC. (ภาชนะ) ปริมาณ 3. น้ำผลไม้

5 น้ำผลไม้ แบ่งออกเป็น 2. น้ำผลไม้ที่มีส่วนผสมตามที่กรมฯกำหนด ยกเว้นภาษี
1. น้ำผลไม้ทั่วไป อัตราภาษี 20% (มูลค่า) /440 CC. ภาชนะ)ปริมาณ 2. น้ำผลไม้ที่มีส่วนผสมตามที่กรมฯกำหนด ยกเว้นภาษี

6 3. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 ได้แก่
1. ผู้ประกอบการ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 2.1 ผู้ประกอบอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม 2.2 ผู้นำเข้า 2.3 ผู้อื่น เช่น ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 ตามพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527

7 หน้าที่ของผู้เสียภาษีของตัวสินค้า
1. ให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรม ผู้นำเข้า มีหน้าที่เสียภาษีตามมูลค่าหรือปริมาณของสินค้า ม.7 (ภษ.27) 2. ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 มีหน้าที่เสียภาษีให้ครบถ้วน ตามมาตรา 163 (ภษ.27)

8 4. วิธีการควบคุมการจัดการจัดเก็บภาษี
1. แสตมป์เครื่องดื่ม 2. ฝาจุก จีบ เช่นโซดา ,น้ำอัดลม สิ่งผนึกภาชนะ จด ทะเบียน,เครื่องหมายแสดงการเสีย ภาษี 3. เครื่องขาย เครื่องดื่ม ยื่น ชำระภาษีภายใน วันที่ 15 ของ เดือนถัดที่มีชำระภาษี

9 5. วิธีการตรวจสอบสินค้าเครื่องดื่ม ที่ต้องจดทะเบียน/กระทำผิด
1. สินค้าเครื่องดื่มที่ต้องจดทะเบียน 2. สินค้าเครื่องดื่มที่ได้รับยกเว้นภาษี หรือไม่ต้องจดทะเบียน 3. การดำเนินการตรวจสอบสินค้าที่มิได้ เสียภาษี

10 สินค้า แบตเตอรี่ สินค้าตามพิกัดฯ ประเภท 08.90(4)
1. นิยาม แบตเตอรี่ คือ อุปกรณ์ที่บรรจุพลังงานเคมีแล้วจ่ายเป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงออกไปใช้งานประเภทของแบตเตอรี่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.1 แบตเตอรี่แห้ง (Dry Cell) 1.2 แบตเตอรี่น้ำ (Storage Bettery)

11 2. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกฎหมายภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527
- ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ต้องจดทะเบียน - ผู้นำเข้าแบตเตอรี่ (หม้อสะสมไฟฟ้า) กรมศุลกากร เก็บแทนกรมสรรพสามิต ผู้ประกอบอุตสาหกรรมใน ประเทศไม่มี

12 3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี - ผู้นำเข้า เสียภาษีด่านศุลกากร
- ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ - ผู้นำเข้า เสียภาษีด่านศุลกากร - ผู้อื่น เช่น ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 (ภษ.27)

13 4. ผู้เสียภาษีมีหน้าที่
- ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ผู้นำเข้า มี หน้าที่เสียภาษีตามมูลค่า - ผู้กระทำผิดตามมาตรา 161,162 มีหน้าที่เสียภาษี เอาสินค้าคืนไป

14 5. อัตราภาษีที่ต้องเสีย ร้อยละ 10 6. วิธีการควบคุมการเสียภาษี
- ผู้ประกอบอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ให้ยื่นชำระภาษีในเวลาที่นำสินค้าออกจากโรงอุตสาหกรรมตามมาตรา10 (ภษ.27) - สินค้านำเข้า ให้ถือว่าความรับผิดในอันจะต้องเสียภาษีเกิดขึ้นในเวลาเดียวกับความรับผิดในอันจะต้องเสียภาษีศุลกากรสำหรับของที่นำเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ตามมาตรา10(3) (ภษ.27)

15 7. วิธีการตรวจสอบสินค้าแบตเตอรี่ว่าเสียภาษีหรือยัง
- ตรวจดูว่าเป็นสินค้าแบตเตอรี่เข้าข่ายตามพิกัดฯหรือไม่ - ตรา/ยี่ห้อใครเป็นผู้ผลิต สถานที่ผลิตตรงตามที่จดทะเบียนไว้ หรือไม่ - มีเอกสารใดมาแสดงการได้มา ซื้อมาจากใคร เมื่อใด จำนวน เท่าใด ราคาเท่าไร มาแสดงหรือไม่ - ถ้าเป็นPower Bank ให้ตรวจดูใบขนสินค้าของกรมศุลกากร มี การนำเข้าโดยถูกต้อง ตรงตามตรา/ยี่ห้อ จำนวน ตรงตาม เอกสารนำเข้าหรือไม่

16 8. มูลค่า(ราคา) คิดคำนวณจากแบตเตอรี่มิใช่ตัว Power Bank ทั้งหมด โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 132 (ภษ.27)


ดาวน์โหลด ppt โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google