งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นำเสนอ 7 กันยายน 2553

2 เป้าหมาย/ความคาดหวังเมื่อสิ้นปีงบประมาณ 54
เกิดความร่วมมือระหว่าง ทันตแพทยสภา กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย องค์กรทันตแพทย์เอกชน แสะ สปสช. ในการสนับสนุนให้เกิดระบบการจัดบริการด้านทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เหมาะสม เกิดกลไกการทำงานด้านทันตกรรม และระบบการรายงานข้อมูลที่เอื้อต่อการติดตามการบริการด้านทันตกรรม ในระดับจังหวัด 3. มีการพัฒนาและกระจายทันตบุคลากรสู่ระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิอื่นๆ อย่างเหมาะสม 4. เด็กประถมศึกษาปีที่ 1. ได้รับการบริการทันตกรรมโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรคและรักษาทางทันตกรรม (Comprehensive care) และขยายการเฝ้าระวังในปีถัดไป 5. มีแผนยุทธศาสตร์ด้านทันตสาธารณสุขระยะยาวในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

3 การจัดบริการทันตกรรม แบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย
กองทุนทันตกรรม กลุ่มหญิงมีครรภ์ งานสร้างเสริม ป้องกัน และงานรักษาตามกำหนด เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน (เน้นเด็ก ชั้น ป. 1 โดยให้จัดบริการทันตกรรมผสมผสานอย่างสมบูรณ์ ส่วนเด็กชั้นปีอื่น ให้บริการตามความจำเป็น) ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป งานสร้างเสริม ป้องกัน และใส่ฟันปลอม กลุ่มเยาวชนและวัยทำงาน งานสร้างเสริมและป้องกัน กลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายรอง

4 การบริหารงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับจัดบริการ ทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
กลุ่มเป้าหมาย กองทุนทันตกรรม กองทุน OP/IP กลุ่มหญิงมีครรภ์ งานสร้างเสริม ป้องกัน และงานรักษาตามกำหนด เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน กลุ่มเยาวชนและวัยทำงาน งานสร้างเสริมและป้องกัน งานรักษา ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป งานสร้างเสริม ป้องกัน และใส่ฟันปลอม

5 ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม หญิงมีครรภ์ 1. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ ฝึกทักษะการแปรงฟันหญิง ช่วงฝากครรภ์, เยี่ยมหญิงหลังคลอด 2. การตรวจสุขภาพฟันและ OHI ช่วงฝากครรภ์ 3. การรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ระบุ

6 ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กปฐมวัย 1. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคใน WBC ประกอบด้วย 1.1. การตรวจช่องปากเด็กและให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากตามระบบใน WBC 1.2. การฝึกทักษะการแปรงฟันให้ผู้ปกครองเด็ก 1.3. การตรวจสุขภาพฟันและจัดระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงในช่วง 6 -30 เดือน 1.4. จัดบริการเคลือบฟลูออไรด์/ทาฟลูออไรด์วานิช ให้สอดคล้องกับ ปัญหาและปริมาณฟลูออไรด์ในพื้นที่ 1.5. จัดบริการเยี่ยมบ้านในรายที่ไม่มารับบริการในรพ./ศสช./รพสต.

7 ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กปฐมวัย 2. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคใน ศพด./ชุมชน 2.1. การตรวจช่องปากปีละ 2 ครั้ง และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากกับผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง 2.2. จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน 2.3. จัดการสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กให้เอื้อต่อสุขภาพฟัน 2.4. การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ในศูนย์และโรงเรียนอนุบาล 2.5. จัดทำโครงการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพช่อง ปากของเด็กอย่างเหมาะสม*

8 ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กปฐมวัย 3. งานรักษา 3.1 จัดบริการให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่เสี่ยง 3.2 จัดบริการการเคลือบหลุมร่องฟันตามความจำเป็น 3.3 การอุดฟัน ถอนฟัน รักษาโพรงประสาทฟันน้ำนมตามความจำเป็น

9 ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เด็กวัยเรียน 1. งานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 1.1 จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันในสถานศึกษา 1.2 จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพฟัน 1.3 ทำโครงการฝึกทักษะการแปรงฟันรายบุคคล* 1.4 โครงการความร่วมมือของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก* 2. งานทันตกรรมป้องกันและงานรักษาประกอบด้วย 2.1 การตรวจสุขภาพฟัน 2.2 การเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ 2.3 การอุดฟันแท้และฟันน้ำนม 2.4 การขูดหินน้ำลาย 2.5 การถอนฟัน 2.6 การรักษาโพรงประสาทฟันน้ำนม

10 ในกลุ่มวัยเรียน ให้เน้นเด็ก ชั้นป. 1 โดยต้องการ
ให้จัดบริการทันตกรรมผสมผสาน อย่างสมบูรณ์ ส่วนเด็กชั้นปีอื่น ให้บริการตามความจำเป็น

11 ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม กลุ่มเยาวชน (มัธยมศึกษาขึ้นไป) และวัยทำงาน 1. งานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก 2. งานทันตกรรมป้องกันตามความจำเป็น

12 ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม ผู้สูงอายุ (60ปีขึ้นไป) 1. งานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก 2. ตรวจสุขภาพช่องปาก และ ให้ความรู้สุขภาพช่องปาก 3. จัดบริการทันตกรรมป้องกันแก่ผู้ป่วยในรายที่จำเป็น เช่น การให้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ ในผู้ป่วยได้รับการฉายแสง, ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ที่ใส่ฟันปลอม เป็นต้น 4. ให้บริการทันตกรรมฟื้นฟู เพื่อให้สามารถบดเคี้ยวได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ประกอบด้วย  การใส่ฟันเทียมทั้งปาก - การใส่ฟันเทียมบางส่วนถอดได้

13 กรอบการบริหารจัดการกองทุนทันตกรรม ปี 2554

14 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด
1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการบริหารงบ สปสช.เขตแจ้ง สสจ.และหน่วยบริการเพื่อส่งแผน/โครงการ - สสจ.ส่งแผน/โครงการระดับจังหวัด - CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่นๆ ส่งแผน/โครงการตามสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ สสจ.รวบรวมเสนอคณะกรรมการทันตฯจังหวัดภายในเดือน พฤศจิกายน 53 กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรให้ สปสช.เขต ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) คณะทำงาน ทันตสาธารณสุขระดับเขตพิจารณาและอนุมัติแผน/โครงการ สปสช. โอนเงินให้สสจ.(100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) สปสช.เขตรวบรวมแผน/โครงการ เพื่อส่งเบิกสปสช. สปสช.เขต ติดตามผลการดำเนินงานของ สสจ. และรายงานผลต่อ สปสช.ทุก 6 เดือน

15 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด
1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการดำเนินงาน (ลักษณะProject- based) ระดับจังหวัด 1. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ระดับประเทศที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปาก 2. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามนโยบายระดับจังหวัดที่ 3. พัฒนาและสนับสนุนการกระจายทันตบุคลากรในระบบบริการ ปฐมภูมิ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ 4. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ให้มากขึ้น โดย พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากใน ระบบปกติ 6. สนับสนุนการดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน เช่น อบจ. อบต. เทศบาล ระดับ CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น * เป็นโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดำเนินงานแก่ ประชาชนในพื้นที่ โดยเป็นการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และบริบทของพื้นที่ และมุ่งเน้นใน กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ กลุ่มเยาวชน (มัธยมศึกษาขึ้นไป) วัยทำงาน และผู้สูงอายุ ทั้งนี้ การดำเนินโครงการสร้างเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากในระดับจังหวัด CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น (1.2) ต้องไม่ซ้ำซ้อน กับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก (1.3)

16 1.งบบริการทันตกรรม 1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการบริหารงบ สสจ.แจ้ง คปสอ. (CUP / หน่วยบริการและPCU และอปท.) เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการการให้บริการในกลุ่มเป้าหมายหลักตามชุดสิทธิประโยชน์ (ส่งแผน สสจ. ภายในเดือน พฤศจิกายน 53) กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรกลุ่มเป้าหมายให้ สสจ. ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) สปสช. โอนเงิน ให้ CUP (100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด อนุมัติแผนและส่งเบิกผ่าน สปสช.เขต สสจ. รายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมผ่านสปสช.เขตต่อ สปสช. ทุก 6 เดือน สปสช.เขตรายงานผลการดำเนินงานต่อสปสช. ทุก 6 เดือน

17 1.งบบริการทันตกรรม(ต่อ)
1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการดำเนินงาน สนับสนุนการดำเนินงาน สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในเด็กวัยเรียน ตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยเน้นการจัดบริการทันตกรรมแบบผสมผสานอย่างสมบูรณ์ในเด็กป.1 สนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ตามชุดสิทธิประโยชน์ ทั้งนี้ หน่วยบริการประจำต้องจัดทำแผนปฎิบัติการสำหรับการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมายหลักอย่างชัดเจน โดยระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลาที่จะดำเนินการ จำนวนเป้าหมาย ให้ครอบคลุมจำนวนสถานศึกษา/ศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่

18 ทั้งนี้ สำหรับ สปสช. เขต 9 นครราชสีมา และ สปสช. เขต13 กทม
ทั้งนี้ สำหรับ สปสช.เขต 9 นครราชสีมา และ สปสช.เขต13 กทม.ให้คณะอนุเขต ปรับรายละเอียดการบริหารได้ภายใต้กรอบที่กำหนดข้างต้น

19 สปสช. โอนเงินให้หน่วยบริการ
2. แนวทางบริหารงบทันตกรรมฟื้นฟู กองทุนแจ้งหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายให้หน่วยบริการทราบ หน่วยบริการบันทึกข้อมูลการให้บริการ ผ่านระบบ E-claim สปสช. โอนเงินให้หน่วยบริการ

20 3 . งบสนับสนุนและพัฒนาระบบบริการทันตกรรม
แนวทางการดำเนินการ สนับสนุนระบบการบริหารจัดการ (ระดับประเทศ เขต จังหวัด) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานทันตสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการทันตกรรม เพื่อให้เกิดแนวทาง/นวัตกรรมในการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โครงการนำร่องในการจัดบริการทันต กรรม โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ/ การผลิต /กระจายทันตบุคลากร เช่น การ กระจายทันตาภิบาลเข้าสู่หน่วยบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอื่นๆ ให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย 5. สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข 6. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่องปากระดับชาติ


ดาวน์โหลด ppt งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google