งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?

3 ลักษณะการโฆษณาเครื่องสำอาง
กฎหมายมิได้กำหนดให้ต้องยื่นขออนุญาต ต้องโฆษณาอยู่ในขอบเขตของกฎหมาย

4 ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2535 มาตรา37 “ให้นำบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการโฆษณา มาใช้บังคับแก่การโฆษณาเครื่องสำอางโดยอนุโลม โดยให้ถือว่า อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นอำนาจของรัฐมนตรีและให้ถือว่าอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ”

5 ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 การโฆษณาจะต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร่างกาย หรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้บริโภค

6 ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม
ข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินความจริง ข้อความที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้า ข้อความที่สนับสนุนให้เกิดการกระทำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม ข้อความที่ทำให้เกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสียความสามัคคีในหมู่ประชาชน ข้อความอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง

7 ข้อความที่ใช้ในการโฆษณาที่บุคคลทั่วไปสามารถรู้ได้ว่าเป็นข้อความที่ไม่อาจเป็นความจริงได้โดยแน่แท้ ไม่จัดเป็นข้อความที่ต้องห้ามในการโฆษณา

8 แนวทางการพิจารณาการโฆษณาเครื่องสำอาง
เป็นเท็จหรือไม่ เกินจริงหรือไม่ ทำให้เข้าใจผิดสาระสำคัญของเครื่องสำอางหรือไม่ หากมีการอ้างรายงานทางวิชาการ ผลการวิจัย ต้องพิสูจน์ได้ว่าข้อความนั้นเป็นจริง หากมีการโฆษณาเปรียบเทียบต้องมีหลักฐานพิสูจน์ได้

9 ข้อพิจารณาตามวัตถุประสงค์การใช้ผลิตภัณฑ์
ยา เครื่องสำอาง บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค มีผลต่อโครงสร้าง หรือ การทำหน้าที่ใดๆ ของร่างกาย เพื่อความสะอาด สวยงาม หรือสุขอนามัยที่ดี ไม่มีผลต่อโครงสร้าง หรือการทำหน้าที่ใดๆ ของร่างกาย

10 เหตุผล ดุลยพินิจ กฎหมาย เหตุผลใคร ผู้ประกอบการ หรือ เจ้าหน้าที่
เปลี่ยนไปตามแต่ละสถานการณ์ และหลักฐานที่มี แตกต่างกันแต่ละบุคคลขึ้นกับ ความรู้ ทัศนคติ กฎหมาย ค่อนข้างคงที่ และชัดเจน

11 เมื่อความเห็นไม่ตรงกันแล้วใครเป็นผู้มีอำนาจตัดสิน
ผู้มีอำนาจในการเปรียบเทียบคดีเกี่ยวกับโฆษณาตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ มีดังนี้ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ผู้อำนวยการสำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย

12 ระดับภูมิภาคเฝ้าระวังอย่างไร

13

14

15

16 การลงข้อมูลแบบบันทึกเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องสำอาง
หัวข้อเรื่อง ผลิตภัณฑ์อะไร ลักษณะที่สงสัยว่าไม่ถูกต้อง “โฆษณาครีมหน้าขาว ABC แสดงสรรพคุณการรักษาเป็นยา” “โลชั่น DEF แสดงสรรพคุณเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย” “สบู่ GHI แสดงสรรพคุณโอ้อวดเกินจริง”

17 การลงข้อมูลแบบบันทึกเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องสำอาง
ข้อความที่สงสัย ลอกข้อความที่สงสัยว่าผิดกฎหมาย

18 การลงข้อมูลแบบบันทึกเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องสำอาง
การตรวจสอบ (จนท.ระดับอำเภอ) ประเด็นที่ผิด โยงเข้ามาตราไหน

19 การลงข้อมูลแบบบันทึกเฝ้าระวังโฆษณาเครื่องสำอาง
การดำเนินการ เก็บสิ่งพิมพ์ออกจากสถานที่จำหน่าย ถ่ายภาพบันทึกหลักฐาน สถานที่วางสิ่งพิมพ์ ติดตามเฝ้าระวังซ้ำอีกใน เดือน จัดเวทีในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่ถูกต้อง รวมรวมหลักฐานเพิ่มเติม และส่งเรื่องดำเนินคดี

20


ดาวน์โหลด ppt ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google