ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
ต้องซื้อขายโดยสมาชิกหรือผ่านสมาชิก มีกำหนดเงื่อนไขการซื้อขายที่เป็นมาตรฐาน มีสำนักหักบัญชีดูแลการปฏิบัติตามข้อตกลงการซื้อ ขายล่วงหน้าให้เป็นไปโดยเรียบร้อย มีการวางเงินประกันการซื้อขาย
2
กลไกการทำงานของตลาดซื้อขายล่วงหน้า
Contract Specifications ระบบการซื้อขาย จับคู่คำสั่งเสนอซื้อและคำสั่งเสนอขายเพื่อหาราคาที่ดีที่สุด โดยเป็นราคาที่เกิดจากการเสนอซื้อและเสนอขายอย่างเสรี ประเภทและคุณภาพสินค้า เดือนส่งมอบ เวลาซื้อขาย หน่วยการซื้อขาย ช่วงราคา อัตราขึ้น-ลงสูงสุดประจำวัน เพดานการถือครอง วันซื้อขายสุดท้าย จุดส่งมอบ วิธีการซื้อขาย อัตราเงินประกัน ระบบการหักบัญชี เป็นคู่สัญญาของทั้งผู้ซื้อและผู้ขายเมื่อคำสั่งเสนอซื้อและเสนอขายจับคู่กันได้ บริหารเงินประกัน บริหาร Clearing Fund บริหารการรับมอบส่งมอบ
3
ระบบการซื้อขายต้องผ่านสมาชิกตลาด
ตลาดล่วงหน้า สั่งขาย สั่งซื้อ สมาชิก สมาชิก ลูกค้า ลูกค้า ห้องค้าตลาด
4
วันที่ 1 ระบบการซื้อขายต้องผ่านสมาชิกตลาด (ต่อ)
วิธีการสั่งซื้อสั่งขายของลูกค้า วันที่ 1 เปิดบัญชีการซื้อขาย กับสมาชิกตลาดล่วงหน้า สั่งซื้อหรือขาย วางเงินประกันขั้นต้น (Initial Margin Requirement) เช่น 20,000 บาท/สัญญา ทั้งกรณีซื้อหรือขายล่วงหน้า ตลาดล่วงหน้า สมาชิก ผู้ซื้อหรือผู้ขาย สัญญาล่วงหน้า (หรือลูกค้า)
5
การปรับสถานะเงินประกันโดยสำนักหักบัญชี
2. ระบบการหักบัญชี การปรับสถานะเงินประกันโดยสำนักหักบัญชี วันต่อมา ตลาดฯ ปรับฐานะเงินประกันของสมาชิกในแต่ละวัน ถ้ามีน้อยไป จะเรียกเงินประกันเพิ่ม (Call Margin) สมาชิก ปรับฐานะเงินประกันของลูกค้าในแต่ละวัน ถ้ามีน้อยไปจะเรียกเงินประกันเพิ่ม(Call Margin) จากลูกค้า หมายเหตุ: 1. กรณีราคาสัญญาล่วงหน้าในวันต่อมามีราคาสูงขึ้น สมาชิกจะเรียกเงินประกันเพิ่มจากผู้ขายล่วงหน้า 2. กรณีราคาสัญญาล่วงหน้าในวันต่อมามีราคาต่ำลง สมาชิกจะเรียกเงินประกันเพิ่มจากผู้ซื้อล่วงหน้า
6
ระบบการหักบัญชี (ต่อ)
การปรับสถานะเงินประกัน วางเงินประกันขั้นต้น (Initial Margin) เช่น 20,000 บาท/สัญญา ในกรณีของยางแผ่นรมควันชั้น 3 สถานะเงินประกันจะปรับโดยการเคลื่อนไหวของราคาตลาดล่วงหน้า จะมีการเรียกเงินประกันเพิ่มหาก เงินประกันต่ำกว่าเงินประกันขั้นต่ำ (Maintenance Margin) ซึ่งเท่ากับ 15,000 บาท/สัญญา ในกรณีของยางแผ่นรมควันชั้น 3
7
3. กองทุนรองรับกรณีมีปัญหาการหักบัญชี กองทุนเพื่อการหักบัญชี
ตลาด ล่วงหน้า สมาชิก จ่ายสมทบ กองทุนเพื่อการหักบัญชี สมาชิก A สมาชิก B สมาชิก C ทดรองจ่าย สมาชิก D รายการที่มีปัญหา X สมาชิก F มีปัญหา หมายเหตุ: สำนักหักบัญชีจะติดตามเรียกเงินที่ทดรองจ่ายไปจากสมาชิก F ในเวลาต่อมา
8
ระบบการซื้อขาย
12
ทางเลือกของนักลงทุนในการปฎิบัติตามภาระผูกพันในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ถือสัญญาจนหมดอายุ และส่งมอบ/รับมอบ และชำระเงิน ตามข้อตกลงในสัญญา หักล้างสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ค้างอยู่
13
Checklist สำหรับผู้ที่สนใจซื้อขายในตลาดซื้อขายล่วงหน้า
ศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า วัตถุประสงค์ในการซื้อขาย เพื่อลดความเสี่ยงหรือเก็งกำไร ตัดสินใจว่าจะเป็นลูกค้าโบรกเกอร์ หรือเป็นผู้ค้าล่วงหน้า ตรวจสอบว่า โบรกเกอร์ที่สนใจเป็นโบรกเกอร์ถูกกฎหมายหรือโบรกเกอร์เถื่อน
14
Checklist สำหรับผู้ที่สนใจซื้อขายในตลาดซื้อขายล่วงหน้า
ขั้นตอนการเป็นลูกค้าโบรกเกอร์ เปิดบัญชีลูกค้ากับโบรกเกอร์ มีฐานะทางการเงินดีพอที่จะวางเงินประกัน เข้ารับการอบรมสัมมนาในเรื่องความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการซื้อขายล่วงหน้า กลยุทธ์การลงทุน และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า
15
Checklist สำหรับผู้ที่สนใจซื้อขายในตลาดซื้อขายล่วงหน้า
ติดตามภาวะการซื้อขายล่วงหน้า และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาซื้อขายล่วงหน้า ทดลองเข้าไปซื้อขายล่วงหน้าในจำนวนน้อยก่อนเพื่อสร้างความคุ้นเคยในเรื่องกฎระเบียบและเพิ่มความเข้าใจในเรื่องการซื้อขายล่วงหน้า
16
ภาระภาษีและต้นทุนในการซื้อขายสัญญาล่วงหน้า
ฐานรายได้ ยกเว้นไม่เก็บภาษีกำไรจากการซื้อขายในตลาด ต.ส.ล. กับบุคคลธรรมดา นิติบุคคลจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ 30% หากขาดทุนก็นำมาหักฐานภาษีได้ ฐานการซื้อขาย ยกเว้นไม่มีการเก็บภาษีจากฐานการซื้อขาย ต้นทุนอื่นในการซื้อขายสัญญาล่วงหน้า ต.ส.ล. คิด ค่าคอมมิชชั่น 0.1 – 0.25% ของมูลค่าการซื้อขาย ค่าใช้จ่ายอื่น เช่น ค่าข้อมูลหรือค่าปรึกษาการลงทุน ซึ่งมักจะเป็นค่าใช้จ่ายคงที่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.