ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ส่วนส่งเสริมการผลิตผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
2
สถานการณ์ ผลผลิตกล้วยไม้มีคุณภาพไม่สม่ำเสมอ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร สถานการณ์ ผลผลิตกล้วยไม้มีคุณภาพไม่สม่ำเสมอ ขาดกล้วยไม้พันธุ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ครม.เห็นชอบยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทย ในตลาดโลก ปี กรมส่งเสริมการเกษตรรับผิดชอบกลยุทธ์ด้านการผลิต และพัฒนาองค์กรเกษตรกร
3
1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2. เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2. เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด 3. ปรับระบบการบริหารจัดการกล้วยไม้
4
เป้าหมาย ปริมาณงาน : 1,200 ราย พื้นที่เป้าหมาย : กาญจนบุรี ตรัง
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร เป้าหมาย ปริมาณงาน : 1,200 ราย พื้นที่เป้าหมาย : กาญจนบุรี ตรัง จันทบุรี อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน ศูนยฯ พืชสวน จ.กระบี่ ศูนยฯ พืชสวน จ.สมุทรสาคร กรุงเทพฯ นนทบุรี อยุธยา ชลบุรี สมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรี
5
Concept โครงการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร Concept โครงการ ส่งเสริมสวนกล้วยไม้ GAP * ประชุมเชิงปฏิบัติการที่ปรึกษาฯ * จัดทำแปลงต้นแบบ GAP กล้วยไม้ * ศึกษาดูงาน * ให้คำปรึกษาและตรวจประเมินเบื้องต้น ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร *อบรมถ่ายทอดความรู้ ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้ *สัมมนาหน่วยงานพันธมิตรฯ *ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำกลุ่มเกษตรกร *อบรมเกษตรกรจัดทำแผนและเชื่อมโยง เครือข่าย เกษตรกรผู้ปลูกเลี้ยงกล้วยไม้/ ผู้ประกอบการ 1,200 ราย ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ * แปลงรวบรวมพ่อแม่พันธุ์กล้วยไม้ * ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * จัดทำแปลงต้นแบบการพัฒนาพันธุ์ กล้วยไม้ ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้ *ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพ *พัฒนาแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ *อบรมและดูงาน *จัดเวทีแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ * ประชุมสัมมนาฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด และปรับระบบการบริหารจัดการกล้วยไม้ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ *ประชุมคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ *ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กล้วยไม้ *ประชุมที่ปรึกษา คณะทำงาน และประสานงาน *จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก ปี >> ส่งออกกล้วยไม้ได้ปีละ 10,000 ล้านบาท
6
วิธีการดำเนินโครงการ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร วิธีการดำเนินโครงการ 1. ส่งเสริมสวนกล้วยไม้ GAP (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการที่ปรึกษาเพื่อจัดทำคู่มือ การให้คำแนะนำเกษตรกร (ก.) (2) จัดทำแปลงต้นแบบ GAP กล้วยไม้ (จ.) (3) นำเกษตรกรดูงานแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ GAP (จ.) (4) ให้คำปรึกษาและตรวจประเมินเบื้องต้น (จ.)
7
2. ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 2. ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้ (1) จัดสัมมนาหน่วยงานพันธมิตรและผู้นำกลุ่มเกษตรกร (ก.) (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำกลุ่มเกษตรกร เพื่อสรุปบทเรียนคลัสเตอร์ต้นแบบ (จ.) (3) จัดอบรมเกษตรกรหลักสูตรการจัดทำแผนและ เชื่อมโยงเครือข่าย (จ.) CLUSTER
8
3. ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 3. ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ (1) แปลงรวบรวมพ่อแม่พันธุ์กล้วยไม้ (ศ.) (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้นำเกษตรกร เรื่องการพัฒนาพันธุ์ (ศ.) (3) จัดทำแปลงต้นแบบการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ (จ.) 4. ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร (1) จัดอบรมหลักสูตรการผลิตการตลาดกล้วยไม้ (ศ.)
9
5. ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 5. ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้ (1) ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพหมู่บ้านกล้วยไม้ที่จะร่วมโครงการ (ก.) (2) พัฒนาแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ (จ.) (3) จัดอบรมและดูงานการผลิตกล้วยไม้ (จ.) (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ (จ.) (5) สัมมนาแนวทางบูรณาการร่วมกับหน่วยงานราชการ และองค์กรเอกชน (ก.)
10
6. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 6. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ (1) ประชุมคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ (2) ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กล้วยไม้ (3) ประชุมที่ปรึกษา คณะทำงาน และประสานงาน (4) จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์
11
ประเด็นวัดผลโครงการ ประเด็นวัดผล
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ประเด็นวัดผลโครงการ ประเด็นวัดผล 1. สวนกล้วยไม้ GAP : เกษตรกรมีการป้องกันกำจัดโรคและศัตรูกล้วยไม้ที่ถูกต้อง 2. คลัสเตอร์กล้วยไม้ : เกษตรกรมีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคธุรกิจอื่น 3. การพัฒนาพันธุ์ : เกษตรกรมีการคัดเลือกพ่อแม่และลูกผสมที่ถูกต้อง 4. หมู่บ้านกล้วยไม้ : เกษตรกรมีความรู้ด้านการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้และมีแผนพัฒนาหมู่บ้านกล้วยไม้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. ประเทศไทยสามารถส่งออกดอกกล้วยไม้มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 และส่งออก ต้นกล้วยไม้มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ในปี 2555
12
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ส่วนส่งเสริมการผลิตผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โทรศัพท์: , โทรสาร:
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.