งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบส่งเสริมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบส่งเสริมการเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง

2 ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการส่งเสริมการเกษตร ทั้งการปฏิบัติงานในพื้นที่และการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ซึ่งมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2

3 หลักการของระบบส่งเสริมการเกษตร
1. ใช้ศูนย์บริการฯ (ศบกต.) เป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยมีคณะกรรมการ ศบกต. อาสาสมัครเกษตร กลุ่ม/เครือข่าย ร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ เรียนรู้และพัฒนาตนเองจากการปฏิบัติงาน และเรียนรู้ และทำงานร่วมกันเป็นทีม (Team Learning and Working) 4. นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงาน 3

4 แนวทางการดำเนินงาน 1. เสริมหนุนให้ ศบกต. สามารถทำงานได้ในการพัฒนาการเกษตรในระดับตำบล 2. สร้างเป้าหมายร่วมในการปฏิบัติงานในทุกระดับ 3. ใช้ความรู้เป็นฐานในการปฏิบัติงานเพื่อให้บุคลากรมีขีดความสามารถพร้อม (Knowledge Worker) 4. ปรับเปลี่ยนบทบาทวัฒนธรรมในการทำงาน เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการ และพัฒนาการเรียนรู้โดยชุมชนเอง 4

5 ของระบบส่งเสริมการเกษตร
องค์ประกอบ ของระบบส่งเสริมการเกษตร ระบบการปฏิบัติงาน ในพื้นที่ ระบบสนับสนุน การปฏิบัติงาน 5

6

7 ระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่
7

8 ระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่
ประกอบด้วยการทำงาน 2 ระดับ คือ ระดับอำเภอ  กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่  การจัดทำข้อมูลการเกษตร ระดับตำบล  การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล  การจัดการเรียนรู้/การถ่ายทอดเทคโนโลยี  การให้บริการทางการเกษตร  การส่งเสริมกลุ่ม/เครือข่าย 8 8 8

9 แผนภูมิระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่
กลุ่ม/เครือข่าย แผนพัฒนาการเกษตร การเรียนรู้ บริหารจัดการ(ศบกต.) ข้อมูล การบริการ กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่ ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน 9 9

10 กระบวนการทำงานในระดับอำเภอ
1 3 5 6 2 จัดทำข้อมูล อำเภอ 4 ฯลฯ จัดทำข้อมูล ตำบล 1 กายภาพ 2 ชีวภาพ 3เศรษฐกิจ 4 สังคม 5 สิ่งแวดล้อม 6 ทุน/ทรัพยากร 7 ความรู้/วิชาการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย แผนปฏิบัติงาน ส่งเสริม และพัฒนา สรุป/รายงาน เวทีวันจันทร์ เวที DM เวที DW ประจำปี แผนปี/เดือน - สนง. - บุคล แผนปฏิบัติงาน /โครงการ แนวทางพัฒนาการเกษตร 1.เครื่องมือ วิธีการแบบ มีส่วนร่วม ให้รู้ - สถานการณ์ - ปัญหา - ศักยภาพ - โครงการ - โครงการ - โครงการ 1.ส่งเสริมการผลิต 4 ให้มีระบบ - การจัดเก็บ /ปรับปรุง /ตรวจสอบ - การรวบรวม /บันทึก - การเผยแพร่ ผู้รับผิดชอบ - ข้าว - ไม้ผล - พืชผัก - พืชไร่ -ไม้ดอก - พืชฤดูแล้ง ประชาสัมพันธ์ - พืช - สัตว์ - ประมง - ดิน - สวล. 2.กลไกขับเคลื่อน นสพ. วิทยุชุมชน TV จดหมายข่าว แผ่นปลิว ฯลฯ ศบกต. ศก.พอเพียง สถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร 2.สถาบันเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ - ก.ส่งเสริมอาชีพ -ก.แม่บ้านเกษตรกร -ก.ยุวเกษตรกร 4.กระบวนการถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ รร.เกษตรกร การจัดการความรู้ คลินิกเกษตร วิจัยท้องถิ่น เวทีประชาคม - เวทีเรียนรู้ 3.วิสาหกิจชุมชน ผู้รับผิดชอบ 4.งานพัฒนาองค์กร ผู้รับผิดชอบ - งบประมาณ - สำนักงาน - บุคลากร จำลอง พุฒซ้อน สนง เกษตรอยุธยา

11 . กระบวนการทำงานในระดับตำบล 1 3 4 5 2 จัดทำข้อมูล ตำบล วิเคราะห์
1 กายภาพ 2 ชีวภาพ 3เศรษฐกิจ 4 สังคม 5 สิ่งแวดล้อม 6 ทุน/ทรัพยากร 7 ความรู้/วิชาการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย การถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ การบริการ ส่งเสริม กลุ่ม/เครือข่าย ดำเนินการ ทำข้อมูลกลุ่ม /เครือข่าย แผนพัฒนากลุ่ม สนับสนุนการ ดำเนินกิจกรรม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แผนพัฒนาการเกษตร 1.เครื่องมือ 1.ณ.ศบกต. วิธีการแบบ มีส่วนร่วม ให้รู้ - สถานการณ์ - ปัญหา - ศักยภาพ 1.ส่งเสริมการผลิต - โครงการ - โครงการ - โครงการ - รับเรื่อง - ประสาน - แก้ไข/ให้ความรู้ - ติดตามผล - ข้าว - ไม้ผล - พืชผัก - พืชไร่ -ไม้ดอก - พืชฤดูแล้ง - พืช - สัตว์ - ประมง - ดิน - สวล. ให้มีระบบ - ทบทวน /ปรับปรุง /ตรวจสอบ - จัดเก็บ/ รวบรวม/ - การเผยแพร่ - ใช้ประโยชน์ 2.กลไกลขับเคลื่อน 2.คลินิกประหยัด ศบกต. ศก.พอเพียง สถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร ตามความต้องการ ของชุมชน เร่งด่วน/โดยรวม ตามกระบวนการ คลินิกเกษตร ร่วมกับกรรมการศูนย์ฯ 2.สถาบันเกษตรกร - ก.ส่งเสริมอาชีพ - กแม่บ้านเกษตรกร - ก.ยุวเกษตรกร 3.วิสาหกิจชุมชน 4.กระบวนการถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ 4.งานพัฒนาศูนย์ รร.เกษตรกร การจัดการความรู้ คลินิกเกษตร วิจัยท้องถิ่น เวทีประชาคม - เวทีเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ - เครื่องมือ/อุปกรณ์ - สำนักงาน - บุคลากร . นำเสนอ/ บรรจุเข้าแผน อปท. จำลอง พุฒซ้อน สนง เกษตรอยุธยา

12 กระบวนการพัฒนาและปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร
1 2 วิเคราะห์สถานการณ์ ระบบการทำงานในพื้นที่ เทียบเคียงกับผลสำเร็จ/ ผลผลิต ของระบบใหม่ 1.การทำงานระดับอำเภอ -จัดทำข้อมูลการเกษตร - กำหนดเป้าหมายร่วม - จัดทำแผนปฏิบัติงาน - มอบหมายผู้รับผิดชอบ - การดำเนินการส่งเสริม - ติดตาม ประเมิน รายงาน - มีฐานข้อมูล และเป้าหมายของ สนง. - มีแผนพัฒนาที่ชุมชนปฏิบัติได้เอง - มีการบูรณาการกับท้องถิ่น - มีกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง - มีการให้บริการที่รวดเร็ว ทั่วถึง - ชุมชนร่วมประเมิน/ปรับปรุงงาน - ชุมชนมีส่วนร่วมสร้างกลุ่ม/เครือข่าย ให้รู้ว่า วิธีการทีทำอย่เป็นอย่างไร ผลที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร มีปัญหา อุปสรรคอะไร จะ ต้องแก้ไขอะไร/อย่างไร 2.การทำงานระดับตำบล - จัดทำข้อมูลการเกษตร - แผนพัฒนาการเกษตร - จัดการเรียนรู้/ถ่ายทอด - การให้บริการ - ส่งเสริมกลุ่ม/เครือข่าย จะรู้ว่า บรรลุเป้าหมายหรือยัง มีช่องว่างอะไร จะพัฒนา ปรับปรุงอะไรบ้าง 5 3 4 สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาปรับปรุง กำหนดวิธีการทำงาน ใหม่ในทุกประเด็นทั้ง ระดับอำเภอ/ตำบล ปฏิบัติงานตาม วิธีการใหม่ (Action) ใช้เวที - ทุกวันจันทร์ - DM - DW

13 กลไกการดำเนินงานจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
ท้องถิ่น ศบกต. ระบบส่งเสริมการเกษตร (พื้นที่) ข้อมูลการเกษตร อปท. แผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารฯ ศบกต. บริการจัดการ แผนปฏิบัติการ จนท./ ศบกต./ อปท. สนับสนุน เวทีชุมชน การเรียนรู้ ภารกิจถ่ายโอน เกษตรกร การให้บริการ บูรณาการแผน แผนพัฒนาการเกษตร (ปี ๕๕-๕๗) เครือข่ายการทำงาน ร่วมกับ ศบกต. ด้าน การถ่ายทอด ด้านการลงทุน เชิงธุรกิจ/ วิสาหกิจชุมชน ด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ประชุมผู้แทนคณะ กก.ศบกต. เตรียมจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบลบูรณาการกับแผนพัฒนาท้องถิ่น อาสาสมัครเกษตร (เกษตรหมู่บ้าน) เป็นวิทยากร ศูนย์เรียนรู้ การเกษตรพอเพียง จุดสาธิต/ ถ่ายทอด ศบกต. สนง.กษจ. รับสมัคร คัดเลือกโดยคณะกรรมการ ศบกต. ประชุมชี้แจงบทบาทหน้าที่ และถ่ายทอดความรู้ ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรเป้าหมาย GAP ยากจน ก้าวหน้า เกษตรกรทั่วไป/ ผู้สนใจ วิทยากร/ ปราชญ์

14 ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน (ฉบับปรับปรุง ปี 2553)
14

15 เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร
ประกอบด้วย - การสัมมนาเชิง ปฏิบัติการตามระบบ ส่งเสริมการเกษตร - การประชุม เพื่อการบริหาร 15

16 เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร
1 เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ สัมมนา เจ้าภาพ การจัดเวที NW ส่วนกลาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี RW เขต ปีละ 3 ครั้ง PW จังหวัด DW อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง 16

17 เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร
2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที ผู้บริหารกรมฯ ส่วนกลาง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง สำนัก/กอง/เขต/ศูนย์ฯ หน่วยงาน ทุกเดือน กษจ./หน.ส่วนฯ ระดับเขต เขต ทุก 3 เดือน 17

18 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ)
2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ) ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที PM จังหวัด เดือนละ 1 ครั้ง MM เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 4 DM อำเภอ เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 1 WM ทุกสัปดาห์ (1 วัน) 18

19 ซั ก ถ า ม & แ ล ก เ ป ลี่ ย น 19

20 ส วั ส ดี


ดาวน์โหลด ppt ระบบส่งเสริมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google