งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
สรุปการดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข็มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดแพร่ ปี 2554 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

2 ทรงพระเจริญ

3 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved
หม้อฮ่อมไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี้ใจงาม 4/5/2017 copyright All Rights Reserved

4 ข้อมูลทั่วไป จ.แพร่ เนื้อที่ 6,538.6 ตารางกิโลเมตร gonhvmuj
เนื้อที่ 6, ตารางกิโลเมตร หรือ 4,086,624 ไร่ gonhvmuj 4/5/2017 copyright All Rights Reserved

5 ข้อมูลทั่วไป 8 อำเภอ 78 ตำบล 708 หมู่บ้าน 18 ชุมชน 1 อบจ. 18 เทศบาล
8 อำเภอ 78 ตำบล 708 หมู่บ้าน 18 ชุมชน 1 อบจ. 18 เทศบาล 64 อบต.

6 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved
จำนวนประชากร 226,466 คน 237,011 คน รวม 463,477 คน 4/5/2017 copyright All Rights Reserved 6

7 1 รพท : 438 เตียง 1 รพช : 60 เตียง 6 รพช : 30 เตียง 119 รพสต.
1 รพท : 438 เตียง รพช : 60 เตียง รพช : 30 เตียง 119 รพสต. 4/5/2017 copyright All Rights Reserved 7

8 ปัญหาสาธารณสุข จังหวัดแพร่
ปัญหาสาธารณสุข จังหวัดแพร่

9 อัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่ม ของประชากร จังหวัดแพร่ พ.ศ.2547-2553

10 อายุขัยเฉลี่ยของประชากรจังหวัดแพร่ ปี 2547-2553
อายุขัยเฉลี่ยของประชากรจังหวัดแพร่ ปี

11 สาเหตุการตาย 5 อันดับแรก จังหวัดแพร่ ปี 2551-2553
สาเหตุการตาย 5 อันดับแรก จังหวัดแพร่ ปี ลำดับ 1 มะเร็งตับ ท่อน้ำดี เนื้อเยื่อเกี่ยวกับตับ ลำดับ 2 การติดเชื้อในกระแสโลหิต ลำดับ 3 การบาดเจ็บไม่ทราบเหตุการณ์/ ลำดับ 4 ไตวายที่ไม่ได้ระบุรายละเอียด ลำดับ 5 มะเร็งหลอดลมและปอด

12 อัตราผู้ป่วยใน 5 ลำดับแรก จังหวัดแพร่ ปี 2550-2554
อัตราผู้ป่วยใน 5 ลำดับแรก จังหวัดแพร่ ปี

13 ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน การป่วย จังหวัดแพร่ 1.ระบบหายใจ
ที่มา : รง.504,รง505 ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน 1.ระบบหายใจ 1.อาการและการแสดงผิดปกติที่พบจากการตรวจ Lab 2.ระบบกล้ามเนื้อรวมโครงร่างฯ 2.โรคความดันโลหิตสูง 3.ระบบไหลเวียนเลือด 3. โรคต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตาโบลิซึม 4.อาการ อาการแสดงสิ่งผิดปกติ 4. เบาหวาน 5.ระบบย่อยอาหารรวมโรค ในช่องปาก 5. โรคติดเชื้ออื่นๆ ของสำไส้ 13

14 ปัญหาสาธารณสุข จังหวัดแพร่
14 14

15 ปัญหาสุขภาพ จังหวัดแพร่
1.อุบัติเหตุ 2. ไข้เลือดออก 3.เบาหวาน 4. เอดส์ 5.ความดันโลหิตสูง 6. COPD 7.มะเร็งตับ 8.วัณโรค 9. ฆ่าตัวตาย 10. ทารกแรกเกิด น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 15 15

16 อัตราอุบัติเหตุจราจร จังหวัดแพร่ ปี 2550-2554
อัตราอุบัติเหตุจราจร จังหวัดแพร่ ปี

17 อัตราผู้ป่วยในด้วยโรคไม่ติดต่อจังหวัดแพร่

18 อัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อจังหวัดแพร่

19 สถานการณ์วัณโรคในจังหวัดแพร่ ปีงบประมาณ 2554
ประเภท จำนวน (ราย) - วัณโรคปอดเสมหะบวกรายใหม่ 60 - วัณโรคปอดเสมหะบวกกลับเป็นซ้ำ 4 - วัณโรคปอดเสมหะไม่พบเชื้อ 16 - วัณโรคนอกปอด 3 - อื่นๆ รวม 86

20 ปัญหาการฆ่าคัวตาย อัตราผู้ป่วยต่อแสนประชากร ปี โรคซึมเศร้า ฆ่าตัวตายสำเร็จ ฆ่าตัวตายไม่สำเร็จ 16.82

21 อำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

22 เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ในระดับอำเภอ
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ในระดับอำเภอ

23 ขั้นตอน กระบวนงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ
1. อำเภอ ประเมินตนเอง (self assessment) รอบที่ 1 มค.-มีค. ส่งแบบ self assessment ให้จังหวัด หรือ Key in ผ่านเวบไซด์ 2. จังหวัด รวบรวม วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 1 สรุป : อำเภอที่ได้คะแนนตั้งแต่ ร้อยละ 80, สัดส่วนอำเภอที่ผ่าน เพื่อรายงานผู้ตรวจ พัฒนาส่วนขาด เรียนรู้ความ สำเร็จอำเภอเข้มแข็ง 3. สคร. วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 1 ร่วมตรวจราชการ โดยใช้ข้อมูลการประเมินรอบที่ 1 ของจังหวัดนั้น ให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนา รายงานผลตรวจของจังหวัดในวันที่ตรวจ รายงานผลตรวจภาพรวมเขต 15 วันหลังตรวจ 6. สคร (พค.–มิย.). วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 2 ประเมินอำเภอ ตัวแทนและข้างเคียง ร่วมตรวจราชการรอบที่ 2 รายงานผลตรวจของจังหวัดในวันที่ตรวจ รายงานผลตรวจภาพรวมเขต 15 วันหลังตรวจ คัดเลือกตัวแทนเขตตรวจ 5. จังหวัด (พค. -มิย.) รวบรวม วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 2 สรุป : อำเภอที่ได้คะแนนตั้งแต่ ร้อยละ 80, สัดส่วนอำเภอที่ผ่าน เพื่อรายงานผู้ตรวจ คัดเลือกอำเภอตัวแทนจังหวัด 4. อำเภอ (พค.) ประเมินตนเอง (self assessment) รอบที่ 2 พค. ลงข้อมูล self assessment ผ่านเวบไซด์ 23

24 แบบประเมินคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง
แบบประเมินตนเอง โดย ประธานคณะกรรมการสุขภาพระดับอำเภอหรือสาธารณสุขอำเภอ แบบประเมินตนเองประกอบด้วย 5 ด้าน ดังนี้ คณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี การวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม ผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นที่

25 วัดศักยภาพการควบคุมโรคและความสำเร็จของนโยบาย
แบบประเมินตนเอง แบบประเมินของสคร. สิ่งสนับสนุนจากกรมควบคุมโรค ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง จังหวัด อำเภอ สื่อมวลชน อบรม SRRT ตำบล ชุดความรู้สำหรับการดำเนินงานอำเภอเข้มแข็ง การขับเคลื่อน ผ่านสื่อมวลชน ผู้ตรวจราชการ ผู้ว่าราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

26 ตัวชี้วัดความสำเร็จตามนโยบายมีอย่างน้อย 1 เรื่อง
โรควัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคปอดทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยระบบยาระยะสั้นแบบมีพี่เลี้ยงกำกับการกินยาตั้งแต่ 80% อัตราการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดทั้งหมด ( All form) ไม่เกิน 3%

27 ตัวชี้วัดความสำเร็จปัญหาพื้นที่
โรคไข้เลือดออก ร้อยละ80 ของเขตเทศบาล / อบต. เขตชนบท มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index (HI) ≤ 10 ร้อยละ80 ของโรงเรียน / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index (CI) = 0 อัตราป่วยลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 20 เมื่อเปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

28 การดำเนินงานด้านสาธารณสุข ประจำปี 2554 ตามตัวชี้วัดการตรวจราชการ
การดำเนินงานด้านสาธารณสุข ประจำปี ตามตัวชี้วัดการตรวจราชการ

29 “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า
ผลการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ร้อยละ 100 อำเภอ ประเมินตนเอง ครั้งที่ 1 ( 50 คะแนน) ครั้งที่ 2 (50 คะแนน) ผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 (40 คะแนนขึ้นไป) เมืองแพร่ 42 49.25 ผ่าน สูงเม่น 39 เด่นชัย 36 48 ลอง 43 47 วังชิ้น 37 สอง 41 ร้องกวาง หนองม่วงไข่

30 สถานการณ์วัณโรคในจังหวัดแพร่ ปีงบประมาณ 2554
ประเภท จำนวน (ราย) - วัณโรคปอดเสมหะบวกรายใหม่ 60 - วัณโรคปอดเสมหะบวกกลับเป็นซ้ำ 4 - วัณโรคปอดเสมหะไม่พบเชื้อ 16 - วัณโรคนอกปอด 3 - อื่นๆ รวม 86

31 0901 แผนภูมิแสดง อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค (success rate, cohort 3/52)
ที่มา: รายงาน e-inspection ณ 30/06/52 31

32 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดแพร่ ปี พ.ศ.2539 -2554
4/5/2017 copyright All Rights Reserved

33 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกของจังหวัดแพร่ ปี พ.ศ.2550 -2554
4/5/2017 copyright All Rights Reserved 33

34 ชี้แจงสัญจร มีส่วนร่วมประเมิน ติดตามกำกับอย่างต่อเนื่อง
กลยุทธ์ ชี้แจงสัญจร มีส่วนร่วมประเมิน ติดตามกำกับอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาเครือข่าย ระบบฐานข้อมูล การพัฒนาทีม SRRT อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รางวัล สนับสนุนจากผู้บริหาร 34

35 ปัจจัยสำเร็จ นโยบาย ภาคีเครือข่าย ชุมชนให้ความร่วมมือและเข้มแข็ง
สนับสนุนจากหน่วยงานตำบล อำเภอ จังหวัด เขตและระดับกระทรวง 35

36 ปัญหาอุปสรรค การสื่อสาร การสร้างความเข้าใจ ตระหนัก การใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก แก้ไขปัญหา ถ่ายทอดนโยบายให้ท้องถิ่น การควบคุมป้องกันโรคให้สอดคล้องวิถีชีวิตของชุมชน


ดาวน์โหลด ppt สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google