งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
เสาวณีย์ เปลี่ยนพานิช งานควบคุมโรคติดต่อ

2 สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554
1.แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย - นพ.สสจ.ชร. ที่ปรึกษา - ผชช.ว. ประธาน - หน.งานที่เกี่ยวข้อง กรรมการ - หน.งานควบคุมโรคติดต่อ เลขานุการ

3 สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554
2.วิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย และวางแผนการดำเนินงาน - ระดับจังหวัด โดยคณะทำงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน - ระดับอำเภอ โดยผู้รับผิดชอบงานและเครือข่ายที่ เกี่ยวข้อง - มีการประสานงานและสื่อสารกรณีเร่งด่วน ผ่านระบบ Geo chat

4 สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554
3.จัดหา / สนับสนุนงบประมาณ ตามแผนงานโครงการปี 2554 - โครงการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ง/ป PPA จังหวัด 79,400 บาท - โครงการเร่งรัดพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ง/ป PPA จังหวัด 360,000 บาท - โครงการอบรม SRRT ตำบล ง/ป จาก CUP เพิ่มเติม

5 สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554
4. ชี้แจงนโยบายและถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ประชุมชี้แจง จนท.สธ. ระดับจังหวัด, อำเภอ/ตำบล - นำเข้าวาระในที่ประชุม กวป. ทุกเดือน - อบรม SRRT ตำบล ครอบคลุมทุกตำบล - ประชุมพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งต้นแบบ (เชียงแสน / แม่ฟ้าหลวง)

6 รูปกิจกรรมประชุมชี้แจง จนท.สธ. ระดับจังหวัด, อำเภอ/ตำบล

7 รูปกิจกรรมประชุมพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งต้นแบบ (เชียงแสน / แม่ฟ้าหลวง)

8 รูปกิจกรรมประชุมพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งต้นแบบ (เชียงแสน / แม่ฟ้าหลวง)

9 การอบรม SRRT ตำบล

10 สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554
5. ติดตามประเมินผล - นิเทศปกติ 2 ครั้ง (เม.ย. / ก.ค.2554) - นิเทศทีมบริหาร - เป็นตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ผู้บริหาร ระดับอำเภอ รอบที่ 2 / 2554

11 การนิเทศติดตามงานและการประเมินอำเภอ

12 การนิเทศติดตามงานและการประเมินอำเภอ

13 ผลการดำเนินงานเชิงปริมาณตามตัวชี้วัด
อำเภอประเมินตนเอง (Self assessment) ตามแบบประเมินคุณลักษณะ จำนวน 18 อำเภอ - รอบที่ 1 ผ่านเกณฑ์ 9 อำเภอ ร้อยละ 50 - รอบที่ 2 ผ่านเกณฑ์ 18 อำเภอ ร้อยละ 100

14 ผลการดำเนินงานเชิงปริมาณตามตัวชี้วัด
คุณลักษณะที่ไม่ผ่านเกณฑ์ส่วนใหญ่คือ 1. ความถี่ในการประชุมของคณะกรรมการฯยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ 2. ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลไม่สามารถเพาะเชื้อ แบคทีเรียจากอุจจาระได้

15 เรื่องที่จะดำเนินการต่อ
ผลักดันให้เป็นตัวชี้วัดคำรับรองผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าฯ อบรมฟื้นฟู/ทดแทน เครือข่าย SRRT ตำบล จัดประชุมสรุปผลการดำเนินการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด ประกาศ เชิดชู และให้รางวัล


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google