งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th
รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม

2 เนื้อหา ประวัติของ PHP PHP คืออะไร ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม
Language Reference ข้อแตกต่างของ PHP กับ ASP PHP Programming

3 ประวัติ PHP PHP ย่อมาจาก Professional Home Page
เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 4 Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มใช้กลางปี 1997 ปัจจุบัน Version 4 ถ้าเป็น commercial ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans) PHP Programming

4 รายชื่อของนักพัฒนาภาษา PHP
Zeev Suraski, Israel Andi Gutmans, Israel Shane Caraveo, Florida USA Stig Bakken, Norway Andrey Zmievski, Nebraska USA Sascha Schumann, Dortmund, Germany Thies C. Arntzen, Hamburg, Germany Jim Winstead, Los Angeles, USA Rasmus Lerdorf, North Carolina, USA PHP Programming

5 PHP คืออะไร เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT/2000/XP, Windows 9x ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, msSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น PHP Programming

6 สิ่งที่ PHP สามารถทำได้้
CGI Database-enable web page Database Adabas D InterBase Solid DBase mSQL Sybase Empress MySQL Velocis FilePro Oracle Unix dbm Informix PostgreSQL PHP Programming

7 ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม
Open source No cost implementation – PHP เป็นของฟรี Server side Crossable Platform HTML embedded Simple language Efficiency XML parsing Database module File I/O Text processing Image processing PHP Programming

8 การทำงานของ PHP ทำงานบน Server ทำงานร่วมกับเอกสาร HTML
สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร HTML ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ แสดงผลออกทาง Web Browsers PHP Programming

9 โครงสร้างภาษา PHP แบบที่ 1 XML style <?php คำสั่งภาษา PHP ?>
ตัวอย่าง <?php echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?> PHP Programming

10 โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่ 2 SGML style <? คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?> PHP Programming

11 โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง echo “Hello World”; PHP Programming

12 โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่ 4 ASP Style <% คำสั่งภาษา PHP %> ตัวอย่าง <% echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; %> PHP Programming

13 โครงสร้างของภาษา PHP (ต่อ)
แบบที่เป็นที่นิยม คือ แบบที่ 1 ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello World ! I am PHP ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php (หรือ php3) PHP Programming

14 Language Reference Comments
- เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix ตัวอย่าง <?php echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลายบรรทัดตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */ echo “World”; # การ comment แบบ shell-style ?> PHP Programming

15 คำสั่ง echo เป็นคำสั่งสำหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser รูปแบบ
ข้อความ เขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote (“ “) หรือ single quote (‘ ‘) ตัวแปรของภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ เสมอ คล้ายกับภาษา Perl PHP Programming

16 ตัวอย่างที่ 1 intro.php <HTML> <HEAD>
<TITLE>Example –1</TITLE> </HEAD> <BODY> <?php phpinfo() ; ?> </HTML> PHP Programming

17 การเรียกใช้งาน เปิดโปรแกรม browser พิมพ์ url
PHP Programming

18 ตัวอย่างที่ 2 (date.php)
<HTML> <HEAD> <TITLE> Example –2</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <? print(Date("l F d, Y")); ?> </BODY> </HTML> Today's Date: Thursday March 10, 2003 PHP Programming


ดาวน์โหลด ppt เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google