ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ
2
• วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ • วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เนื้อหา • วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • การเก็บข้อมูล การทดลอง การสำรวจ การสัมภาษณ์
3
วิธีการวิจัย การวิจัยมี 2 วิธีหลัก การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงปริมาณ วิธีการใดเหมาะสมกับสิ่งที่จะวิจัย
4
วิธีการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพ เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่มีลักษณะนามธรรม ความเห็น ความเข้าใจของคน การเข้าใจความคิดเห็นเหล่านั้นให้จะทำให้รู้จัก และมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งนั้นมากขึ้น
5
วิธีการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นรูปธรรม
ที่สามารถวัดได้ ข้อมูลสามารถแสดงออกมาในรูปสถิติได้
6
ลักษณะของวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ
เพื่อตอบคำถามที่ตั้งขึ้น ผลจากการวิจัยควรมีนัยสำคัญ แต่ไม่จำเป็นต้องเกิดซ้ำ อธิบายว่าทำไมจึงเกิดเหตุการณ์ขึ้น ผู้วิจัยมีส่วนร่วม ไม่ใช่ผู้สังเกตุ ผลมักไม่เป็นจำนวน
7
ลักษณะของวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ
เพื่อพิสูจน์สมมุติฐาน แสดงให้เห็นว่าผลจากการวิจัยที่ได้สามารถเกิดซ้ำได้ ตอบคำถามว่ามีอะไรเกิดขึ้น แต่อาจไม่อธิบายว่าทำไมจึงเกิด เป็นนามธรรมที่เป็นมีมุมมองออกจากตัวผู้วิจัย มักแสดงผลในเชิงสถิติ และตอบสมมุติฐานที่ตั้งขึ้น
8
เลือกวิธีการไหน การวิเคราะหเชิงปริมาณ การวิเคราะหเชิงคุณภาพ
ปัญหาจริงที่เกิดขึ้น
9
สำรวจผ่านมุมมองของผู้อื่น โดยใช้คำถามเปิด
การวิจัยเชิงคุณภาพ Observing through the eyes of someone else using open research question สำรวจผ่านมุมมองของผู้อื่น โดยใช้คำถามเปิด
10
การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นงานวิจัยที่ตั้งใจที่จะเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นผ่านการมองจากภายในออกสู่ภายนอก เริ่มต้นจากการสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้น ไม่ได้เริ่มต้นจากทฤษฎี หลักการ
11
การวิจัยเชิงคุณภาพ สำรวจและจำแนกลักษณะและสิ่งที่เกิดขึ้นตามบริบทและสถานการณ์ของสิ่งนั้น ผลของการสำรวจคือ concept model ของสิ่งเหล่านั้น ผู้วิจัยต้องมีทัศนะคติที่เปิดรับสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมด เพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น
12
การวิจัยเชิงคุณภาพ สิ่งที่เกิดขึ้นยังไม่สมบูรณื ยังขาดประสิทธิผลที่ต้องการก่อนทำวิจัย ทัศนคติของผู้วิจัยต้องไม่ Bias - เหมือนกระดาษขาว “ค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้”
13
ได้วิธีการในการพัฒนาสิ่งไดสิ่งหนึ่ง
การวิจัยเชิงคุณภาพ ในกระบวนการค้นหาต้องคำนึงถึงสถานการณ์ที่กำลังศึกษาให้ครอบคลุมให้มากที่สุดเพื่อให้ได้ข้อมูลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ค้นหา เพื่อ พัฒนา ได้วิธีการในการพัฒนาสิ่งไดสิ่งหนึ่ง ความโปร่งใสและการครอบคลุมข้อมูลทุกด้านเป็นสิ่งสำคัญ ที่ส่งผลต่อคุณภาพของการพัฒนางานจากผลการวิจัยที่ได้
14
การวิจัยเชิงคุณภาพ ตัวอย่างคำถามเปิด
คนทำอย่างไรในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ทำไมการประชุมจึงมักเกิดขึ้นอย่างไมมีระบบ ควรมีการจัดรูปแบบความสัมพันธ์กับ supplier อย่างไร อะไรเป็นประเด็นหลักในการกระบวนการตัดสินใจด้านการบริหารจัดการ
15
การวิจัยเชิงคุณภาพ พื้นฐานการวิจัย
นักวิจัยมีบทบาทเป็นผู้ค้นหา ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ บริบทที่มีเป็นข้อมูลของงานวิจัย นักวิจัยต้องยอมรับความเห็น มุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้อง นักวิจัยต้องพัฒนางานจากสถานการณ์ และบริบทที่เป็นอยู่ คนที่เกี่ยวข้องมีความหมายต่อสิ่งที่เกิดขึ้น
16
การวิจัยเชิงคุณภาพ Research design การทำงานที่ค่อนข้างเปิด
มีการออกแบบการวิจัยที่สัมพันธ์กับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ใช้ข้อมูลหลากหลาย จากแหล่งต่างๆ รวมถึงข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตุ สำรวจ การสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ มักใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบไม่มีโครงสร้าง หลีกเลี่ยงการใช้ทฤษฎี หรือหลักการในระยะแรกของการวิจัย มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และอาจใช้ข้อมูลเชิงปริมาณประกอบ
17
ผลที่ได้จากการวิจัย และ/หรือ วิธีการกระบวนการวิจัย
การวิจัยเชิงคุณภาพ Research design งานวิจัยอาจใช้ระเบียบวิธีวิจัยซ้ำได้ ในบริบทที่แตกต่างออกไป ผลที่ได้จากการวิจัย และ/หรือ วิธีการกระบวนการวิจัย คือผลลัพธ์ที่ได้
18
The flow of qualitative research
Start: ‘Un process’ and ‘Open’ problem Instrument (s) fro data collection (various sources) Transcription of data First classification of data Narrow down the analysis Further analysis (possibly with new data) Reporting and writing
19
The flow of qualitative research
20
TIPS for ANALYSIS of QUALITATIVE DATA
• Analysis may require numerical aspects • REMEMBER - tends to be heavily subjective; do not claim more than the data or design allow.
21
การวิจัยเชิงปริมาณ Observing through the eyes of the researcher, using a closed research question สังเกตุการณ์ผ่านมุมมองของตัวนักวิจัย โดยใช้คำถามปิด ซึ่งมักไม่เปลี่ยนตลอดการทำวิจัย
22
การวิจัยเชิงปริมาณ เกี่ยวข้องกับจำนวน ตัวเลข กราฟ
อยู่บนพื้นฐานของ “ความรู้ที่ได้จากสถานการณ์และสำรวจโดยตรงจากผู้วิจัย” มักตั้งสมมุติฐาน และทดสอบว่ายอมรับหรือไม่
23
หลักการพื้นฐานคือการใช้ทฤษฎี เป็นกรอบในการทำความเข้าใจกับปัญหาที่มี
การวิจัยเชิงปริมาณ หลักการพื้นฐานคือการใช้ทฤษฎี เป็นกรอบในการทำความเข้าใจกับปัญหาที่มี
24
การวิจัยเชิงปริมาณ มักใช้ทฤษฎีในการอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้น
ราคา s D ปริมาณ มักใช้ทฤษฎีในการอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้น มักใช้การสัมภาษณ์เก็บข้อมูลแบบมีโครงสร้าง ข้อมูลที่ได้ถูกนำไปวิเคราะห์และตอบสมมุติฐานที่ตั้งขึ้น
25
การวิจัยเชิงปริมาณ ทักษะการตั้งสมมติฐาน
เป็นความชำนาญในการทำนายผลหรือคาดเดาเหตุการณ์หรือคิดคำตอบล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล อาศัยการสังเกต ความรู้และประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานสมมุติฐาน คำตอบที่คาดคะเนไว้ล่วงหน้านี้ จะต้องเป็นสิ่งที่ยังไม่ทราบหรือไม่เคยเห็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ยังไม่เป็นหลักการ หรือทฤษฎีมาก่อน สมมติฐานเป็นเครื่องกำหนดแนวทางในการออกแบบการทดลอง
26
การวิจัยเชิงปริมาณ หลักการตั้งสมมุติฐาน
สมมติฐานต้องเป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต้น กับ ตัวแปรตาม ในสถานการณ์หนึ่ง ๆ อาจตั้งหนึ่งสมมติฐานหรือหลายสมมติฐานก็ได้ สมมติฐานที่ตั้งขึ้นอาจจะถูกหรือผิดก็ได้ ดังนั้นจำเป็นต้องมีการทดลองเพื่อตรวจสอบว่า สมมติฐานที่ตั้งขึ้นนั้นเป็นที่ยอมรับหรือไม่ซึ่งจะทราบภายหลังจากการทดลองหาคำตอบแล้ว
27
การวิจัยเชิงปริมาณ ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน อะไรมีผลต่อความเร็วรถ (ความเร็วรถขึ้นอยู่กับปัจจัยอะไรบ้าง) สมมติว่าเลือกขนาดของยางรถยนต์ เป็นตัวแปรที่ต้องการทดสอบ อาจตั้งสมมติฐานว่า: เมื่อขนาดของยางรถยนต์ใหญ่ขึ้น ความเร็วของรถยนต์จะลดลง (ตัวแปรต้น : ขนาดของยางรถยนต์) (ตัวแปรตาม : ความเร็วของรถยนต์)
28
The flow of quantitative research
Start: ‘Un process’ problem Problem definition, research objective and research question Search for relevant theory Development of conceptual model Creation of research design Data collection and data processing Interpretation Reporting
29
TIPS for ANALYSIS of QUANTITATIVE DATA
• เทคนิคที่ใช้ได้มีหลายเทคนิค ควรพิจารณาเลือกใช้อย่างเหมาะสม และลองใช้เทคนิคใหม่ๆ • ใช้สถิติที่เหมาะสม รวมถึงค่าทางสถิติที่แสดงความน่าเชื่อถือของผลการวิเคราะห์ • สรุปผลให้สอดคล้องกับคำถามที่ตั้ง
30
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การอธิบาย (การหาความจริง) การค้นหา (มองหารูปแบบ) การวิเคราะห์ (อธิบาย ทำไม หรือ อย่างไร) การคาดเดา (พยากรณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง การแก้ปัญหา (ปรับปรุงแนวปฏิบัติปัจจุบัน)
31
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การอธิบาย (Descriptive Research) เป็นการอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรืออดีตอย่างถูกต้อง เพื่อตอบคำถาม เช่น อัตราการสอบผ่านของนักเรียนชั้น A เป็นอย่างไร อัตราการลาพักการศึกษาของนักเรียนชั้น A เป็นอย่างไร คุณภาพของการตรวจประเมินมีผลกระทบอย่างไรต่อคุณธรรมของผู้สอน
32
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิเคราะห์ (Analytical Research) การหาคำอธิบายเหตุที่เกิดขึ้นเบื้องหลังเหตุการณ์บางอย่าง ค้นหาปัจจัยบางอย่างที่เปี่ยนแปลงแล้วมีอิธิพลต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ตัวอย่างคำถามเช่น ทำไมจึงมีนักศึกษาหญิงจำนวนมากในชั้นเรียนระดับ 1 อะไรคือปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราการลาศึกษาของนักศึกษา
33
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การคาดเดา (Predictive Research) เพื่อพยากรณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น ตัวอย่างคำถาม การเปลี่ยนแปลงเวลาเรียนจะทำให้มีอัตราการเข้าเรียนเพิ่มขึ้นหรือไม่ ราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น 20% จะทำให้ปริมาณการขายลดลงเท่าใด
34
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การแก้ปัญหา (Problem Solving Research /Action Research) เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา โดยการใช้ความรู้ที่ได้จากการสำรวจ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน
35
หลักการทางสถิติ ถ้าข้อมูลต้องวิเคราะห์จากตัวอย่างจำนวนมาก ต้องใช้วิธีการทางสถิติในการวิจัย การเลือกใช้ตัวแปรทางสถิติที่เหมาะสม มีความสำคัญต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ
36
ข้อมูลปฐมภูมิได้จากไหน
การทดลอง เพื่อทดสอบทฤษฎี และหาสาเหตุของสิ่งที่เกิดขึ้น การทดลองทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจ การทำซ้ำ ทำในระบบปิด ที่ควบคุมปัจจัยที่ไม่ต้องการศึกษา ใช้วิธีการเปรียบเทียบ ทดสอบก่อนและหลังเพื่อพิสูจน์ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
37
ข้อมูลปฐมภูมิได้จากไหน
การสำรวจ เพื่อดูภาพกว้าง ให้เห็นภาพรวม ข้อมูลเชิงประจักษ์ ขึ้นกับตัวอย่าง การวัด สถิติที่เป็นเชิงปริมาณ อาจเป็นการสำรวจโดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ การถามโดยตรง การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ การสำรวจเอกสาร
38
ข้อมูลปฐมภูมิได้จากไหน
กรณีศึกษา เป็นการศึกษากรณีเฉพาะ – ห้องเรียน องค์กร ประเทศ มักเป็นการศึกษาเพื่ออธิบายและวิเคราะห์ ค้นหาสิ่งเฉพาะเจาะจง แต่อาจใช้อธิบายภาพกว้างได้ มักใช้ข้อมูลและเครื่องมือหลากหลาย
39
จริยธรรมในการวิจัย ต้องมีทุกขั้นตอนของการทำวิจัย การเลือกหัวข้อ
การตั้งวัตถุประงค์ การดำเนินการ การสรุปผล การนำไปใช้
40
การสัมภาษณ์ วิธีการสัมภาษณ์แบ่งเป็น 4 แบบ แบบมีโครงสร้าง(Structured)
กึ่งโครงสร้าง (Semi structured) ไม่มีโครงสร้าง(Unstructured /focused interview) สัมภาษณ์กลุ่ม(Group interview)
41
การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interviews)
ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ มีคำถามชัดเจน ที่ออกแบบโดยผู้วิจัย ถามคำถามเดียวกัน ในรูปแบบเดียวกัน เพื่อให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ และเปรียบเทียบกันได้ มักวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเชิงปริมาณ
42
การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured interviews)
ผสมผสานระหว่างคำตอบที่ต้องการชัดเจนและคำถามเปิด ผู้ถูกสัมภาษณ์มีอิสระในการใช้คำพูดของตนเอง เข้าใจและตีความคำถามเอง เมื่อถูกสัมภาษณ์
43
การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interviews)
คำถามที่ตั้งขึ้นขณะสัมภาษณ์ นักวิจัยและผู้ถกสัมภาษณ์มีส่วนร่วมในการการสนทนา มีลักษณะโต้ตอบไปมาระหว่างผู้ถามและถูกถาม นักวิจัยมีกรอบความต้องการข้อมูลของตนเอง
44
การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์กลุ่ม (Group interview)
ผู้นำการสัมภาษณ์สามารถควรเป็นผู้ที่คุมประเด็นได้ ควรมี 8-12 คนต่อกลุ่ม ให้ความสำคัญกับความเห็นของกลุ่ม ในประเด็นที่ต้องการ (ไม่ใช่คนใดคนหนึ่ง)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.