ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTinnapat Sripituksakul ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
2
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์การเรียนรู้การเกษตรพอเพียง ตามแนวทางโรงเรียนเกษตรกร ผลิตสินค้าที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลท่าอุแท
3
กิจกรรมของศูนย์บริการฯ ดีเด่น ที่ได้รับการยอมรับ
เรื่อง ศูนย์การเรียนรู้การเกษตรพอเพียง ชื่อกิจกรรม การทำปุ๋ยหมัก สถานที่ตั้ง /1 หมู่ที่ 8 ตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ ปุ๋ยหมักกระสอบ ขั้นตอนและวิธีการ นำเศษพืช เช่น ขุยปาล์มน้ำมัน ขุยมะพร้าว อย่างละ 500 กิโลกรัม ทำเป็นกองเป็นชั้น จำนวน 3 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยเศษพืช ตามด้วยมูลสัตว์ จำนวน 200 กิโลกรัม ปุ๋ยยูเรีย จำนวน 2 กิโลกรัม และละลายสารเร่ง พด.1 จำนวน 1 ซอง
4
กิจกรรมของศูนย์บริการฯ ดีเด่น ที่ได้รับการยอมรับ (ต่อ)
ขั้นตอนและวิธีการ ในน้ำ 20 ลิตร นาน 15 นาที การกองปุ๋ยหมักแต่ละชั้น ทำการย่ำให้แน่นพร้อมกับรดน้ำให้ชุ่มชั้นบนสุดใช้มูลสัตว์ปิดทับหนาประมาณ 1 นิ้ว เพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น และเป็นแหล่งอาหารให้แก่เชื้อจุลินทรีย์ เมื่อได้ปุ๋ยหมักที่ผ่านกระบวนการย่อยเสร็จสมบูรณ์แล้ว ก่อนนำไปบรรจุกระสอบ จะทำการรดหรือฉีดพ่นปุ๋ยอินทรีย์น้ำ ในอัตราส่วน 1:50 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความอุดมสมบูรณ์ให้กับปุ๋ยหมัก
5
กิจกรรมด้านจุดถ่ายทอดวิทยากรเกษตรกรที่ดีเด่น
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง สถานที่ตั้ง หมู่ 11 ตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ ชื่อวิทยากรเกษตรกร นางน้อย นาทอง ความเชี่ยวชาญของวิทยากรเกษตรกร เศรษฐกิจพอเพียง,การปลูกผักปลอดสารพิษ และ การเลี้ยงสุกร
6
การให้บริการความรู้การเกษตร
เศรษฐกิจพอเพียง, ปาล์มน้ำมัน และการปลูกผักปลอดสารพิษ
7
ผลงานอื่นๆ ที่เป็นจุดเด่นของศูนย์บริการฯ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน แปรรูปน้ำนมข้าวโพด หมู่ 3 ตำบลท่าอุแท กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มปุ๋ยหมักรักสิ่งแวดล้อม หมู่ 8 ตำบลท่าอุแท กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเลี้ยงโค (สปก.) หมู่ 8 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านมะขาม หมู่ 3 ตำบลท่าอุแท
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.